.
แครอท
Carrot เป็นผักที่นิยมกินกันอย่างแพร่หลาย (โดยทั่วไปจะมีสีส้ม)
โดยปกติมักจะนิยมใช้เป็นส่วนผสมอาหารประเภทต่าง ๆ
เพราะคุณค่าทางโภชนาการที่สูง มี
β-carotene
ใยอาหาร สารต้านอนุมูลอิสระ แร่ธาตุ/วิตามิน
ในการแปรรูปทำได้หลายวิธีมาก
แครอทสามารถเก็บรักษาได้นานถึงหลายเดือน
ไม่ว่าจะวางในที่ธรรมดา หรือในตู้เย็น
แครอทกลายเป็นผักยอดนิยมที่ต่างยอมรับกัน
หลังจากที่แครอทถูกพาออกจาก(ถิ่นกำเนิด) บ้านในอิหร่านและอัฟกานิสถาน
ในระหว่างการเดินทางที่ยาวนานข้ามศตวรรษและข้ามทวีป
นักพฤกษศาสตร์หลายคนต่างพยายามปรับปรุงสายพันธุ์
ด้านองค์ประกอบ รูปลักษณ์ รสชาติและขนาดของแครอทสายพันธุ์โบราณ
ส่วนการผลิตแครอทสีส้มในปัจจุบัน
เพิ่งจะปรากฏตัวครั้งแรกในเนเธอร์แลนด์ช่วงศตวรรษที่ 17
ถิ่นกำเนิดของแครอทและลูกพี่ลูกน้องแครอทจำนวนมาก
สามารถติดตามย้อนหลังไปยังดินแดนที่แห้งแล้งของอิหร่านและอัฟกานิสถาน
หลักฐานที่เก่าแก่ที่สุดของการใช้แครอทเริ่มเมื่อ 3,000 ก่อนคริสตศักราช
จากนั้นเมล็ดแครอทจะถูกเก็บรวบรวมไว้รอปลูก
และนำไปขายผ่านทางกองคาราวานพ่อค้า
ไปยังดินแดนอาหรับ แอฟริกาและเอเชีย
ชาวบ้านต่างถิ่นต่างยอมรับและนิยมกินแครอททันที
พร้อมกับเริ่มผสมแครอทข้ามสายพันธุ์
และสร้างรากแครอทจนมีสภาพแบบทุกวันนี้
.
ในสมัยโบราณแครอท จะมีหลายสี เช่น ดำ ขาว แดงและม่วง
แต่เรื่องที่น่าสนใจคือ สีส้ม เพิ่งจะมีขึ้นมาในช่วงศตวรรษที่ 17
ประจักษ์พยานว่า แครอทได้รับการนิยมมากที่สุด คือ
ในสมัยอียิปต์โบราณจะมีการวางแครอทจำนวนมาก
วางอยู่ในหลุมฝังศพของฟาโรห์ที่ตายแล้ว
และภาพวาดของการเก็บเกี่ยวและการรวบรวมแครอท
สามารถพบได้ในภาพวาดอักษรอียิปต์โบราณ
สีแครอทสีม่วงจะได้รับความนิยมมากที่สุดในอียิปต์ยุคนั้น
และนิยมใช้ในการทำอาหารประจำวัน
ประเพณีการใช้แครอทจากอียิปต์แพร่หลายไปยัง
กรีซและโรมในช่วง 1 พันปีก่อนคริสต์ศักราช
แครอทที่รสขมและกินได้ยาก
มีการใช้ในการรักษาโรคต่าง ๆ
และใช้เป็นยาโป๊ทางเพศโดยเฉพาะ
บันทึกที่โด่งดังที่สุดของการใช้แครอทเพื่อการนี้
เกิดขึ้นในช่วงรัชสมัยของจักรพรรดิโรมัน
Caligula
แต่สำหรับการกินเป็นอาหารทั่วไป
ชาวโรมันรู้จักต้มแครอท และกินร่วมกับน้ำสลัด ผักสดและสมุนไพรต่าง ๆ
ในศตวรรษที่ 13 แครอทได้เดินทาง
จากเปอร์เซียไปยังเอเชียไปถึงญี่ปุ่นที่อยู่ห่างไกล
ในเวลาเดียวกันในยุโรป
แครอทก็เริ่มเพาะปลูกในสวนและทุ่งนาของฝรั่งเศสและเยอรมนี
ซึ่งเป็นแครอทสายพันธุ์ที่ค่อนข้างหวาน
แต่ก็มีคุณค่าทางโภชนาการมากพอสมควร
ความนิยมแครอทจึงแพร่กระจายอย่างรวดเร็วไปทั่วทั้งยุโรป
ในปี 1609 ผู้ตั้งถิ่นฐานชาวอังกฤษที่สหรัฐอเมริกา(โลกใหม่)
Jamestown คือเมืองแรกที่เริ่มปลูกแครอท
20 ปีต่อมา แครอทก็ย้ายไปปลูกกันมากที่ Massachusetts
บราซิลเป็นประเทศแห่งแรกในละตินอเมริกา
ที่เริ่มปลูกแครอทในช่วงกลางศตวรรษที่ 17
และต่อมาไม่นานนัก แครอทก็เดินทางไปถึงออสเตรเลีย
ในช่วงศตวรรษที่ 17 เนเธอแลนด์ได้ผลิตแครอทสีส้ม
เพื่อเป็นบรรณาการให้กับ House of Orange
หลังจากการคัดเลือกสายพันธุ์มานานหลายปี
แครอทสีเหลืองดัตช์(สีส้ม)ได้มีการปรับปรุงสายพันธุ์
ไม่มีรสขม เพิ่มความหวานและมีแกนไม้น้อยที่สุด
แครอทชนิดนี้มีชื่อว่า
Daucus carota
ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็วทั่วทั้งยุโรป
แต่ในสหรัฐอเมริกา แครอทไม่ได้รับความนิยมเป็นเวลานานมาก
คนอเมริกันเพิ่งจะนิยมแครอทกันหลังสงครามโลกครั้งที่ 1
เพราะทหารผ่านศึกที่กลับบ้านได้นำเรื่องราว
และนำเมล็ดพันธุ์แครอทกลับไปปลูกที่บ้าน
ทั้งยังได้บอกเล่าถึงอาหารที่ทำจากแครอท
ในอาหารฝรั่งเศสและอาหารยุโรปหลายประเภท
พร้อมกับบอกเรื่องราวที่น่าเหลือเชื่อ
คือ แครอทเป็นเสบียงอาหารสำรอง
ที่ช่วยให้ทหารต่างรอดตายจากสงครามในครั้งนั้น
ในยุคใหม่ มักจะมีแครอทในอาหารคาวและหวาน
เรื่องนี้สามารถย้อนหลังไปถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
รัฐบาลอังกฤษได้ส่งเสริม/สนับสนุนให้ชาวบ้าน
ต่างพากันปลูกแครอทภายในพื้นที่ว่างของบ้านอย่างจริงจัง
เพื่อเป็นเสบียงอาหารสำรองช่วงการจู่โจมทิ้งระเบิดของนาซีเยอรมัน
ปัจจุบันผู้ผลิตและส่งออกแครอทที่ใหญ่ที่สุดในโลก คือ จีน
ในปี 2010 มีการผลิตแครอทและผักกาด 33.5 ล้านตันทั่วโลก
15.8 ล้านตันในจีน 1 .3 ล้านตันในสหรัฐอเมริกา 1.3 ล้านตันในรัสเซีย
1.3 ล้านตันในอุซเบกิสถาน และน้อยกว่า 1 ล้านในโปแลนด์สหราชอาณาจักรและ ยูเครน
.
แครอทที่กินได้มีมากกว่า 100 สายพันธุ์
87% ของแครอทเป็นน้ำ
แครอทสูญเสียรสขม เริ่มมีรสหวานในช่วงศตวรรษที่ 17-18
แครอทเป็นหนึ่งในผักที่มีความหวานมากที่สุดรองจาก
beetroot เท่านั้น
แครอทจะกินแบบดิบ หรือต้ม หรือทำเป็นน้ำหวาน
เพราะมีน้ำตาลหวานธรรมชาติ ซึ่งนำไปผลิตเป็นแอลกอฮอล์ได้
เมล็ดแครอท 2,000 เมล็ดจะใส่ได้ในช้อนชาเดียว
แครอทที่ยาวที่สุดในโลกวัดได้ 5.839 เมตร (19 ฟุต 1 7/8 นิ้ว)
ในปี 1998 พบแครอทที่หนักที่สุดมีน้ำหนัก 8.61 กิโลกรัม
ในศตวรรษที่ 17 ที่อังกฤษใบแครอทถูกนำมาใช้เป็นแฟชั่นประดับผม
ในบรรดาผักทุกชนิด แครอทมีวิตามินเอมากที่สุด(เบต้าแคโรทีน)
แครอท 100 กรัมจะให้ปริมาณวิตามินถึง 104%
แครอทเป็นแหล่งใยอาหารที่ดี
นมหนึ่งแก้วมีปริมาณแคลเซียมเท่ากับแครอท 9 หัว
หากกินแครอทมากเกินไป อาจทำให้เกิดภาวะคล้ายโรคโลหิตจาง
เพราะทำให้ผิวหนังมีโทนสีเหลือง
เมล็ดแครอทหนึ่งเมล็ดให้พลังงานในการเดินหนึ่งไมล์
แครอทมีสรรพคุณทางยามากมาย
สามารถซ่อมแซมเซลล์ที่เสียหาย
รักษาสุขภาพของผิวหนัง/ทำหน้าที่เป็นยาฆ่าเชื้อที่ดี
สำหรับบาดแผลผิวหนัง ช่วยบำรุงสายตา
รักษาความสะอาดปากได้อย่างมีประสิทธิภาพจากแบคทีเรีย
ควบคุมสัดส่วนอัลคาไลน์ของร่างกาย
ขับพยาธิในเด็ก ปรับปรุงน้ำนมของแม่เด็ก
ฟื้นฟูสุขภาพการทำงานของตับ
ควบคุมความดันโลหิตและอื่น ๆ ฯลฯ
กระต่ายป่าจะไม่กินแครอทป่า
แครอทนำมาทำอาหารกระป๋องครั้งแรก
ชาวกรีกโบราณเรียกแครอท ว่า Philtron และ Karoto
ชาว Celts เรียกแครอทว่า น้ำผึ้งใต้ดิน
ญี่ปุ่นเรียกแครอทว่า Ninjin
เมือง Holtwille ในแคลิฟอร์เนีย คือ เมืองหลวงของโลกแครอท
เพราะที่นี่จะจัดเทศกาลแครอทประจำปีมานานกว่า 60 ปีแล้ว
แครอทที่มีชื่อเสียงที่สุดบางชนิด ได้แก่
Dutch Carrots Imperitor Nantes nantes-Berlicium และ Kuronda (Koyo)
แครอทให้ได้คุณค่าทางอาหารอย่างสูง
มีคำแนะนำว่าควรปรุงให้สุกก่อนนำมารับประทาน เพราะแครอทมีผนังเซลล์ที่แข็ง
การรับประทานแบบดิบ ๆ จะได้รับประโยชน์ไม่เต็มที่
เพราะร่างกายได้รับสารเบตาแคโรทีนไม่ถึง 25%
การทำให้สุกก่อนนำมารับประทาน
จะทำให้ผนังเซลล์ที่แข็งตัวสลายออกไป
ทำให้ร่างกายได้รับเบต้าแคโรทีนได้อย่างสูงสุด
มีคำแนะนำว่าควรรับประทานแครอทร่วมกับอาหารที่มีไขมัน
เพราะเบตาแคโรทีนละลายได้ดีในไขมัน
จึงทำให้ร่างกายสามารถดูดซึมสารเบต้าแคโรทีนได้
มากกว่าครึ่งจากการรับประทานปกติ
มีงานวิจัยล่าสุดว่า ไม่ควรหั่นแครอทเป็นชิ้น ๆ ก่อนนำมาปรุงอาหาร
เพราะจะทำให้สูญเสียประสิทธิภาพของสาร ฟอลคารินอล
ซึ่งเป็นสารต้านมะเร็งที่อยู่ในแครอท
เพราะการหั่นแครอทเป็นชิ้น ๆ จะไปเพิ่มพื้นที่ผิว
ซึ่งทำให้สารอาหารที่เราควรจะได้รับถูกกรองทิ้ง
ลงไปรวมกับน้ำในขณะประกอบอาหาร
ดังนั้น ไม่ควรหั่นแครอทก่อนการปรุงอาหาร
แต่ควรนำมาหั่นหลังปรุงอาหารเสร็จแล้ว
เรื่องที่พึงระวังคือ สารตะกั่วที่อาจจะเป็นของแถมที่ไม่ต้องการ
เพราะถ้าแครอทที่เพาะปลูกใกล้แหล่งอุตสาหกรรม
หรือใกล้แหล่งน้ำที่มีสารตะกั่วปนเปื้อน
จะทำให้แครอทดูดซึมสารตะกั่วเข้าไปสะสมในหัวแครอทได้
การนำมาแครอทมากินสด ๆ จึงเท่ากับว่าร่างกายได้รับสารตะกั่วเข้าไปเต็ม ๆ
สารตะกั่วถ้ามีการปลอมปนเพียงเล็กน้อย
ถือว่าเป็นเรื่องปกติถ้าไม่เกินค่ามาตรฐาน
คือ 1 มิลลิกรัมต่ออาหาร 1 กิโลกรัม
ถือว่ากินได้อย่างอย่างปลอดภัย
ดังนั้นควรเลือกซื้อแครอทที่มาจากแหล่งเพาะปลูกที่ปลอดภัย
หรือเลือกรับประทานผักผลไม้ให้หลากหลาย
การรับประทานแครอทสีส้มจำนวนมากเป็นประจำและติดต่อกัน
อาจทำให้สีผิวเปลี่ยนเป็นสีเหลืองได้
สารตะกั่วมีผลเสียโดยตรงกับระบบประสาท
ระบบการทำงานของไต ทางเดินอาหาร เซลล์ไขกระดูก
อาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน โรคโลหิตจาง
ทำให้เซลล์เม็ดเลือดแดงแตกง่าย
เรียบเรียง/ที่มา
http://bit.ly/2os1vNr
http://bit.ly/2osEVV3
http://bit.ly/2mHmxHr
ภาพเขียน garden carrot โดย Juliana Anicia Codex,
a 6th-century AD Constantinopolitan copy of Dioscorides' 1st-century Greek pharmacopoeia.
มีคำบรรยายว่า รากต้มกินได้
Daucus carota umbel (inflorescence) ดอกแครอทแต่ละดอกตั้งอยู่บนก้านดอกเดียวกัน
Queen Anne's lace – Daucus carota
Daucus carota inflorescence ใจกลางดอกสีแดงเข้ม คล้ายร่ม
มี 5 กลีบดอก เกสรตัวผู้ 5 ชุด และกลีบใบหุ้มดอก
คนงานเก็บเกี่ยว carrots ที่ Imperial Valley, California, 1948
เมล็ด Carrot
เมล็ด Daucus carota subsp. maximus - MHNT
กลุ่มเมล็ดที่มีหนามป้องกัน

ใบกินได้
Dek Doi Jai Dee
ประวัติแครอท
โดยปกติมักจะนิยมใช้เป็นส่วนผสมอาหารประเภทต่าง ๆ
เพราะคุณค่าทางโภชนาการที่สูง มี β-carotene
ใยอาหาร สารต้านอนุมูลอิสระ แร่ธาตุ/วิตามิน
ในการแปรรูปทำได้หลายวิธีมาก
แครอทสามารถเก็บรักษาได้นานถึงหลายเดือน
ไม่ว่าจะวางในที่ธรรมดา หรือในตู้เย็น
แครอทกลายเป็นผักยอดนิยมที่ต่างยอมรับกัน
หลังจากที่แครอทถูกพาออกจาก(ถิ่นกำเนิด) บ้านในอิหร่านและอัฟกานิสถาน
ในระหว่างการเดินทางที่ยาวนานข้ามศตวรรษและข้ามทวีป
นักพฤกษศาสตร์หลายคนต่างพยายามปรับปรุงสายพันธุ์
ด้านองค์ประกอบ รูปลักษณ์ รสชาติและขนาดของแครอทสายพันธุ์โบราณ
ส่วนการผลิตแครอทสีส้มในปัจจุบัน
เพิ่งจะปรากฏตัวครั้งแรกในเนเธอร์แลนด์ช่วงศตวรรษที่ 17
ถิ่นกำเนิดของแครอทและลูกพี่ลูกน้องแครอทจำนวนมาก
สามารถติดตามย้อนหลังไปยังดินแดนที่แห้งแล้งของอิหร่านและอัฟกานิสถาน
หลักฐานที่เก่าแก่ที่สุดของการใช้แครอทเริ่มเมื่อ 3,000 ก่อนคริสตศักราช
จากนั้นเมล็ดแครอทจะถูกเก็บรวบรวมไว้รอปลูก
และนำไปขายผ่านทางกองคาราวานพ่อค้า
ไปยังดินแดนอาหรับ แอฟริกาและเอเชีย
ชาวบ้านต่างถิ่นต่างยอมรับและนิยมกินแครอททันที
พร้อมกับเริ่มผสมแครอทข้ามสายพันธุ์
และสร้างรากแครอทจนมีสภาพแบบทุกวันนี้
แต่เรื่องที่น่าสนใจคือ สีส้ม เพิ่งจะมีขึ้นมาในช่วงศตวรรษที่ 17
ประจักษ์พยานว่า แครอทได้รับการนิยมมากที่สุด คือ
ในสมัยอียิปต์โบราณจะมีการวางแครอทจำนวนมาก
วางอยู่ในหลุมฝังศพของฟาโรห์ที่ตายแล้ว
และภาพวาดของการเก็บเกี่ยวและการรวบรวมแครอท
สามารถพบได้ในภาพวาดอักษรอียิปต์โบราณ
สีแครอทสีม่วงจะได้รับความนิยมมากที่สุดในอียิปต์ยุคนั้น
และนิยมใช้ในการทำอาหารประจำวัน
ประเพณีการใช้แครอทจากอียิปต์แพร่หลายไปยัง
กรีซและโรมในช่วง 1 พันปีก่อนคริสต์ศักราช
แครอทที่รสขมและกินได้ยาก
มีการใช้ในการรักษาโรคต่าง ๆ
และใช้เป็นยาโป๊ทางเพศโดยเฉพาะ
บันทึกที่โด่งดังที่สุดของการใช้แครอทเพื่อการนี้
เกิดขึ้นในช่วงรัชสมัยของจักรพรรดิโรมัน Caligula
แต่สำหรับการกินเป็นอาหารทั่วไป
ชาวโรมันรู้จักต้มแครอท และกินร่วมกับน้ำสลัด ผักสดและสมุนไพรต่าง ๆ
ในศตวรรษที่ 13 แครอทได้เดินทาง
จากเปอร์เซียไปยังเอเชียไปถึงญี่ปุ่นที่อยู่ห่างไกล
ในเวลาเดียวกันในยุโรป
แครอทก็เริ่มเพาะปลูกในสวนและทุ่งนาของฝรั่งเศสและเยอรมนี
ซึ่งเป็นแครอทสายพันธุ์ที่ค่อนข้างหวาน
แต่ก็มีคุณค่าทางโภชนาการมากพอสมควร
ความนิยมแครอทจึงแพร่กระจายอย่างรวดเร็วไปทั่วทั้งยุโรป
ในปี 1609 ผู้ตั้งถิ่นฐานชาวอังกฤษที่สหรัฐอเมริกา(โลกใหม่)
Jamestown คือเมืองแรกที่เริ่มปลูกแครอท
20 ปีต่อมา แครอทก็ย้ายไปปลูกกันมากที่ Massachusetts
บราซิลเป็นประเทศแห่งแรกในละตินอเมริกา
ที่เริ่มปลูกแครอทในช่วงกลางศตวรรษที่ 17
และต่อมาไม่นานนัก แครอทก็เดินทางไปถึงออสเตรเลีย
ในช่วงศตวรรษที่ 17 เนเธอแลนด์ได้ผลิตแครอทสีส้ม
เพื่อเป็นบรรณาการให้กับ House of Orange
หลังจากการคัดเลือกสายพันธุ์มานานหลายปี
แครอทสีเหลืองดัตช์(สีส้ม)ได้มีการปรับปรุงสายพันธุ์
ไม่มีรสขม เพิ่มความหวานและมีแกนไม้น้อยที่สุด
แครอทชนิดนี้มีชื่อว่า Daucus carota
ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็วทั่วทั้งยุโรป
แต่ในสหรัฐอเมริกา แครอทไม่ได้รับความนิยมเป็นเวลานานมาก
คนอเมริกันเพิ่งจะนิยมแครอทกันหลังสงครามโลกครั้งที่ 1
เพราะทหารผ่านศึกที่กลับบ้านได้นำเรื่องราว
และนำเมล็ดพันธุ์แครอทกลับไปปลูกที่บ้าน
ทั้งยังได้บอกเล่าถึงอาหารที่ทำจากแครอท
ในอาหารฝรั่งเศสและอาหารยุโรปหลายประเภท
พร้อมกับบอกเรื่องราวที่น่าเหลือเชื่อ
คือ แครอทเป็นเสบียงอาหารสำรอง
ที่ช่วยให้ทหารต่างรอดตายจากสงครามในครั้งนั้น
ในยุคใหม่ มักจะมีแครอทในอาหารคาวและหวาน
เรื่องนี้สามารถย้อนหลังไปถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
รัฐบาลอังกฤษได้ส่งเสริม/สนับสนุนให้ชาวบ้าน
ต่างพากันปลูกแครอทภายในพื้นที่ว่างของบ้านอย่างจริงจัง
เพื่อเป็นเสบียงอาหารสำรองช่วงการจู่โจมทิ้งระเบิดของนาซีเยอรมัน
ปัจจุบันผู้ผลิตและส่งออกแครอทที่ใหญ่ที่สุดในโลก คือ จีน
ในปี 2010 มีการผลิตแครอทและผักกาด 33.5 ล้านตันทั่วโลก
15.8 ล้านตันในจีน 1 .3 ล้านตันในสหรัฐอเมริกา 1.3 ล้านตันในรัสเซีย
1.3 ล้านตันในอุซเบกิสถาน และน้อยกว่า 1 ล้านในโปแลนด์สหราชอาณาจักรและ ยูเครน
87% ของแครอทเป็นน้ำ
แครอทสูญเสียรสขม เริ่มมีรสหวานในช่วงศตวรรษที่ 17-18
แครอทเป็นหนึ่งในผักที่มีความหวานมากที่สุดรองจาก beetroot เท่านั้น
แครอทจะกินแบบดิบ หรือต้ม หรือทำเป็นน้ำหวาน
เพราะมีน้ำตาลหวานธรรมชาติ ซึ่งนำไปผลิตเป็นแอลกอฮอล์ได้
เมล็ดแครอท 2,000 เมล็ดจะใส่ได้ในช้อนชาเดียว
แครอทที่ยาวที่สุดในโลกวัดได้ 5.839 เมตร (19 ฟุต 1 7/8 นิ้ว)
ในปี 1998 พบแครอทที่หนักที่สุดมีน้ำหนัก 8.61 กิโลกรัม
ในศตวรรษที่ 17 ที่อังกฤษใบแครอทถูกนำมาใช้เป็นแฟชั่นประดับผม
ในบรรดาผักทุกชนิด แครอทมีวิตามินเอมากที่สุด(เบต้าแคโรทีน)
แครอท 100 กรัมจะให้ปริมาณวิตามินถึง 104%
แครอทเป็นแหล่งใยอาหารที่ดี
นมหนึ่งแก้วมีปริมาณแคลเซียมเท่ากับแครอท 9 หัว
หากกินแครอทมากเกินไป อาจทำให้เกิดภาวะคล้ายโรคโลหิตจาง
เพราะทำให้ผิวหนังมีโทนสีเหลือง
เมล็ดแครอทหนึ่งเมล็ดให้พลังงานในการเดินหนึ่งไมล์
แครอทมีสรรพคุณทางยามากมาย
สามารถซ่อมแซมเซลล์ที่เสียหาย
รักษาสุขภาพของผิวหนัง/ทำหน้าที่เป็นยาฆ่าเชื้อที่ดี
สำหรับบาดแผลผิวหนัง ช่วยบำรุงสายตา
รักษาความสะอาดปากได้อย่างมีประสิทธิภาพจากแบคทีเรีย
ควบคุมสัดส่วนอัลคาไลน์ของร่างกาย
ขับพยาธิในเด็ก ปรับปรุงน้ำนมของแม่เด็ก
ฟื้นฟูสุขภาพการทำงานของตับ
ควบคุมความดันโลหิตและอื่น ๆ ฯลฯ
กระต่ายป่าจะไม่กินแครอทป่า
แครอทนำมาทำอาหารกระป๋องครั้งแรก
ชาวกรีกโบราณเรียกแครอท ว่า Philtron และ Karoto
ชาว Celts เรียกแครอทว่า น้ำผึ้งใต้ดิน
ญี่ปุ่นเรียกแครอทว่า Ninjin
เมือง Holtwille ในแคลิฟอร์เนีย คือ เมืองหลวงของโลกแครอท
เพราะที่นี่จะจัดเทศกาลแครอทประจำปีมานานกว่า 60 ปีแล้ว
แครอทที่มีชื่อเสียงที่สุดบางชนิด ได้แก่
Dutch Carrots Imperitor Nantes nantes-Berlicium และ Kuronda (Koyo)
แครอทให้ได้คุณค่าทางอาหารอย่างสูง
มีคำแนะนำว่าควรปรุงให้สุกก่อนนำมารับประทาน เพราะแครอทมีผนังเซลล์ที่แข็ง
การรับประทานแบบดิบ ๆ จะได้รับประโยชน์ไม่เต็มที่
เพราะร่างกายได้รับสารเบตาแคโรทีนไม่ถึง 25%
การทำให้สุกก่อนนำมารับประทาน
จะทำให้ผนังเซลล์ที่แข็งตัวสลายออกไป
ทำให้ร่างกายได้รับเบต้าแคโรทีนได้อย่างสูงสุด
มีคำแนะนำว่าควรรับประทานแครอทร่วมกับอาหารที่มีไขมัน
เพราะเบตาแคโรทีนละลายได้ดีในไขมัน
จึงทำให้ร่างกายสามารถดูดซึมสารเบต้าแคโรทีนได้
มากกว่าครึ่งจากการรับประทานปกติ
มีงานวิจัยล่าสุดว่า ไม่ควรหั่นแครอทเป็นชิ้น ๆ ก่อนนำมาปรุงอาหาร
เพราะจะทำให้สูญเสียประสิทธิภาพของสาร ฟอลคารินอล
ซึ่งเป็นสารต้านมะเร็งที่อยู่ในแครอท
เพราะการหั่นแครอทเป็นชิ้น ๆ จะไปเพิ่มพื้นที่ผิว
ซึ่งทำให้สารอาหารที่เราควรจะได้รับถูกกรองทิ้ง
ลงไปรวมกับน้ำในขณะประกอบอาหาร
ดังนั้น ไม่ควรหั่นแครอทก่อนการปรุงอาหาร
แต่ควรนำมาหั่นหลังปรุงอาหารเสร็จแล้ว
เรื่องที่พึงระวังคือ สารตะกั่วที่อาจจะเป็นของแถมที่ไม่ต้องการ
เพราะถ้าแครอทที่เพาะปลูกใกล้แหล่งอุตสาหกรรม
หรือใกล้แหล่งน้ำที่มีสารตะกั่วปนเปื้อน
จะทำให้แครอทดูดซึมสารตะกั่วเข้าไปสะสมในหัวแครอทได้
การนำมาแครอทมากินสด ๆ จึงเท่ากับว่าร่างกายได้รับสารตะกั่วเข้าไปเต็ม ๆ
สารตะกั่วถ้ามีการปลอมปนเพียงเล็กน้อย
ถือว่าเป็นเรื่องปกติถ้าไม่เกินค่ามาตรฐาน
คือ 1 มิลลิกรัมต่ออาหาร 1 กิโลกรัม
ถือว่ากินได้อย่างอย่างปลอดภัย
ดังนั้นควรเลือกซื้อแครอทที่มาจากแหล่งเพาะปลูกที่ปลอดภัย
หรือเลือกรับประทานผักผลไม้ให้หลากหลาย
การรับประทานแครอทสีส้มจำนวนมากเป็นประจำและติดต่อกัน
อาจทำให้สีผิวเปลี่ยนเป็นสีเหลืองได้
สารตะกั่วมีผลเสียโดยตรงกับระบบประสาท
ระบบการทำงานของไต ทางเดินอาหาร เซลล์ไขกระดูก
อาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน โรคโลหิตจาง
ทำให้เซลล์เม็ดเลือดแดงแตกง่าย
เรียบเรียง/ที่มา
http://bit.ly/2os1vNr
http://bit.ly/2osEVV3
http://bit.ly/2mHmxHr
ใบกินได้