หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
มีปัญญาแยกจิตออกจากวิญญาน
กระทู้สนทนา
มหาสติปัฏฐาน 4
จิตคือตัวรู้สึก เมื่อรู้พร้อมทั้งกายใจได้ จิตจะคล่องแคล่วว่องไว ย้ายไปรู้อะไรได้รอบ ทั้งที่ใกล่ ที่ไกล
วิญญานคือรู้ว่ารู้อะไร อันเป็นเพราะมีจิต
ดังนั้นการรู้ว่ารู้อะไรนั้น เป็นวิญญาน
วิญญานจึงไม่ไช่จิต ขณะรู้ว่ารู้อะไรนั้นคือ มีสติ
สติเป็นเจตสิก เจตสิกเป็นสัพพสาธารณะเจตสิก
การรู้อะไรนั้น จึงมีทั้งจิตและวิญญานที่เข้าไปรู้อาการทางขันธ์5
เมื่อมีเจตนารู้อะไร จึงประกอบด้วย จิต วิญญาน เจตนา
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
จิตเริ่มมีปัญญาได้อย่างไร
มาศึกษาRetrospective Learning กันต่อ 1.Q:ปัญญาในจิตเกิดได้อย่างไร A: จิตมีสติ เห็นการพังของรูปนาม เริ่มจากเห็นความไม่มีสาระของรูปที่ตั้งอยู่ มีสติมาที่รูป รูปก็เลือนหายไป ความเป็นฆนบัญญัติแตก แตกกระ
สมาชิกหมายเลข 3237158
จิต มโนวิญญาน หทัย
เห็นภาพ ได้ยินเสืยง แล้วมาดับที่ หทัย รู้สึก มีเวทนา แล้วเคลื่อนมาดับที่ หทัย มีความคิด สัญญา แล้วเคลื่อนมาดับที่ หทัย ถูกเห็นคือ“จิต” ผู้เห็นคือ “สัมมาสติ” แล้วเคลื่อน
สมาชิกหมายเลข 3237158
สติแท้จริงอยู่ตรงไหน
1.เห็นอย่างมีตัวตนเป็นมิจฉาสติ สัมมาสติคือ“เห็นอย่างไม่มีตัวตน” เป็นผู้เห็น ดังนั้นจะเป็นสัมมาสติได้ต้องเอาความรู้สึกว่าเป็นเราออกจากตัวก่อน แล้ว“ตามเห็น”(ภาวนา) ตามเห็นการเกิด
สมาชิกหมายเลข 3237158
จิตที่พ้นจากทุกข์ ลุงหวีด บัวเผื่อน
จิตที่พ้นจากทุกข์ โดยลุงหวีด บัวเผื่อน ตอนที่ 1 จิตเป็นธรรมธาตุ บริสุทธิ์ผุดผ่องมาแต่ไหนแต่ไร ไม่มีอะไรในสมมติที่จะเจือปน จิตดวงนี้ได้เลย ขั้นตอนการปฏิบัติธรรมของข้าพเจ้า สติเป็นสิ่งสําคัญอย่างยิ่งใ
สมาชิกหมายเลข 2748147
อาสวะหลักคือรูป
ความเป็นรูปเป็นอาสวะหลักที่ต้องมีการนำออก ดังการจะสร้างอุโมงค์ ต้องขุดเอาดินออก เพื่อให้เดินผ่านได้ทั้งตัว รูปมีลักษณะอย่างไรในมิติที่3นี้จึงให้รู้ชัดด้วย “สติ” มีความเป็นกว้างคืบ ยาววา
สมาชิกหมายเลข 3237158
จิตกับเจตสิกต้องอยู่ด้วยกันตลอดอย่างนี้ -- พระไตรปิฎกเล่มที่ 34 ธรรมสังคณีย์
259 ใน มหากุศลจิตดวงที่ 1 จะมีเจตสิกประกอบตามภาพครับ 260 261 เจตสิกที่ประกอบ ตาม 262 26.33 ยัง ยัง วา ปะนารัพภะ ก็หรือว่าจิตดวงนี้ปรารภแล้วซึ่งอารมณ์ใดๆเกิดขึ้น ตัสมิง สะมะเย ในขณะนั้นนั่นเอง ในวา
satanmipop
โค๊ดคำพูดของหลวงตาท่านนี้ตามภาพ พอยกขึ้นมาแล้ว จำได้ว่า พระพุทธเจ้าบอกว่าตัณหาเกิดดับก็ที่หทยวัตถุ ตรงกัน
ถ้าบอกว่าตัณหาเกิดดับที่สมองเนี่ยแหละจะคัดค้านครับ แต่ก็จะเป็นไปโดยสุภาพครับ โดยยกพระไตรปิฎกขึ้นมาให้ดูจะจะ ว่าพระพุทธเจ้า พระสารีบุตร พระสงฆสาวกทั้งหลายก็กล่าวตรงกันทั้งนั้นอย่างนี้อย่างนี้ว่า ตัณหาจ
satanmipop
ปุถุชนเริ่มเรียนพระธรรม--เปรียบได้กับ--เด็กอนุบาลเริ่มเรียน ก ไก่
บังเอิญเรียนถึงพอดีดังนี้ครับ ก่อนจะแปะบอกก่อนว่า การเรียนเรื่อง เจตสิกประกอบกับมหากุศลจิตดวงแรก เนี่ย เป็นการเรียนเริ่มต้นของเรื่องเจตสิกปรมัตถ์นิเทศก์นะครับ ในคัมภีร์อภิธัมมาวตาร ซึ่งลำดับการสอนการแ
satanmipop
อภิธัมมาวตาร ครั้งที่4-- ดร.สุภีร์ ทุมทอง + -- หนังสืออภิธัมมาวตาร วัดท่ามะโอ
249https://www.youtube.com/watch?v=Ktb10G19awAอภิธัมมาวตาร ครั้งที่4บรรยายธรรม อ.สุภีร์ ทุมทองอภิธัมมาวตาร ครั้งที่41. เจตสิก33 หรือ34 เกิดในจิต2. ผัสสะ โสมนัสเวทนา สัญญา3. เจตนา วิตักกะ วิจาระ ป
satanmipop
มีแต่สภาวะเดิมที่เปลี่ยนแปลง
จะเผยความจริงให้ฟัง ความจริงที่อาจ“ช็อคซีเนม่า” 1.จิตไม่ได้รู้จักความดี ความชั่ว 2.กุศล อกุศลคือความสว่าง ความมืดของจิต 3.ความสว่าง ความมืด คือความแตกต่างของจิตเดิมและจิตหลัง 4. เหตุอะไรท
สมาชิกหมายเลข 3237158
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
มหาสติปัฏฐาน 4
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ :
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
มีปัญญาแยกจิตออกจากวิญญาน
วิญญานคือรู้ว่ารู้อะไร อันเป็นเพราะมีจิต
ดังนั้นการรู้ว่ารู้อะไรนั้น เป็นวิญญาน
วิญญานจึงไม่ไช่จิต ขณะรู้ว่ารู้อะไรนั้นคือ มีสติ
สติเป็นเจตสิก เจตสิกเป็นสัพพสาธารณะเจตสิก
การรู้อะไรนั้น จึงมีทั้งจิตและวิญญานที่เข้าไปรู้อาการทางขันธ์5
เมื่อมีเจตนารู้อะไร จึงประกอบด้วย จิต วิญญาน เจตนา