บทความทุกตอน.................
บทความก่อนหน้า...................
ตอนที่ 12 หาดใหญ่สงขลากับหมุดการท่องเที่ยวระดับโลก - รถไฟฟ้าชานเมืองหาดใหญ่
รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงในเขตกรุงเทพ เกิดจากแนวคิดที่ว่า เมื่อมีเส้นทางรถไฟเดิมที่สร้างมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 อยู่แล้ว และมีพื้นที่เขตทางเหลืออีกเยอะ ซึ่งเขตทางมีถึงประมาณ 80 เมตร ...แล้วทำไม ไม่สร้างทางรถไฟขึ้นมา เฉพาะเพื่อขนส่งผู้คนเข้าเขตเมืองละ ซึ่งแนวคิดนี้ ก็ถูกพัฒนาต่อยอดจนกลายเป็นรถไฟฟ้าสายสีแดงในปัจจุบัน
และด้วยระบบรถไฟเดิมที่ให้บริการเป็นรถไฟทางไกลอยู่แล้ว ซึ่งเป็นรางขนาด 1.00 เมตร ทำให้ รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง จึงใช้ ราง ขนาด 1.00 เมตรเช่นกัน เพื่อไม่ให้ขนาดราง และตัวสถานี ขัดแย้งกับระบบการเดินรถไฟดั้งเดิมที่มีอยู่ จนในปัจจุบัน รถไฟฟ้าสายสีแดง ก่อสร้างแล้วเสร็จ และเปิดให้บริการแล้ว และกำลังก่อสร้างส่วนขยายเพิ่มเติม
รถไฟฟ้าสายสีแดง ซึ่งเป็นรถไฟฟ้าชานเมืองกรุงเทพฯ สร้างเป็นแบบทางยกระดับ เพื่อลดปัญหาจุดตัดกับถนน และจะสร้างรางแยกออกมาจากรถไฟทางไกลแบบดั้งเดิม เหตุผลเนื่องจาก กลุ่มผู้โดยสารรถไฟชานเมือง กับรถไฟทางไกลเป็นคนละกลุ่มกัน เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการ และอำนวยความสะดวก ในการใช้บริการของประชาชน และปัจจุบัน ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล จะมีเส้นทางรถไฟชานเมืองอยู่ 4 เส้นทาง นั่นคือ ทางทิศเหนือ ทางทิศใต้ ทางทิศตะวันออก และทางทิศตะวันตก
และด้วยจุดแข็งของทำเลที่ตั้ง และความโชคดีทางด้านภูมิศาสตร์ของระบบรางในเมืองหาดใหญ่ ทำให้ในปัจจุบันมีเส้นทางรถไฟแบบดั้งเดิมอยู่แล้วถึง 4 เส้นทาง และเส้นทางที่มีศักยภาพอีก 1 เส้นทางที่ควรสร้างมากๆอีก 1 เส้นทางคือ เส้นทางไปสตูล ซึ่งจะทำให้หาดใหญ่มีเส้นทางรถไฟอยู่ที่ 5 เส้นทางด้วยกัน ซึ่งเหมาะอย่างมากที่จะสร้างระบบรถไฟฟ้าชานเมืองที่ขนส่งผู้คนจากเขตรอบนอกเข้าสู่เมือง
โดยเป็นการถอดแบบ การก่อสร้างมาจากโครงการรถไฟชานเมืองสายสีแดงกรุงเทพฯ โดยจะสร้างรางใหม่ยกระดับขึ้นมา โดยแยกออกจากรางแบบดั้งเดิม และสถานีรถไฟเป็นแบบยกระดับ อีกทั้งมีจุดเชื่อมต่อที่สำคัญคือ สถานีรถไฟหาดใหญ่ ที่เป็นจุดรวมของระบบรถไฟหลากหลายรูปแบบ ทั้งระบบโมโนเรลเชือมเมืองกับแหล่งท่องเที่ยว รถไฟทางไกล รถไฟชานเมือง และรถไฟความเร็วสูง รถไฟฟ้า ETS ซึ่งเรียกได้ว่า ในอนาคต สถานีรถไฟหาดใหญ่จะเป็นชุมทางรถไฟที่สำคัญ อาจจะเทียบเท่ากับ สถานีรถไฟกรุงเทพอภิวัฒน์ เลยทีเดียว บางคนอาจจะแย้งว่า สถานนีรถไฟหาดใหญ่ในปัจุบัน ดูคับแคบ ขยายไม่ได้ แต่ความจริงคือ พื้นที่จริงๆของสถานีรถไฟหาดใหญ่นั้นกว้างขวางมาก ซึ่งรัชกาลที่ 5 ท่านทรงวางแผนไว้อย่างดี เพียงแต่พื้นที่จริง การรถไฟปล่อยให้เอกชนเช่า และเป็นบ้านพักของเจ้าหน้าที่รถไฟ ...
บทความตอนต่อไปคลิกที่นี้..................
ตอนที่ 12 หาดใหญ่สงขลากับหมุดการท่องเที่ยวระดับโลก - รถไฟฟ้าชานเมืองหาดใหญ่
บทความก่อนหน้า...................
ตอนที่ 12 หาดใหญ่สงขลากับหมุดการท่องเที่ยวระดับโลก - รถไฟฟ้าชานเมืองหาดใหญ่
รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงในเขตกรุงเทพ เกิดจากแนวคิดที่ว่า เมื่อมีเส้นทางรถไฟเดิมที่สร้างมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 อยู่แล้ว และมีพื้นที่เขตทางเหลืออีกเยอะ ซึ่งเขตทางมีถึงประมาณ 80 เมตร ...แล้วทำไม ไม่สร้างทางรถไฟขึ้นมา เฉพาะเพื่อขนส่งผู้คนเข้าเขตเมืองละ ซึ่งแนวคิดนี้ ก็ถูกพัฒนาต่อยอดจนกลายเป็นรถไฟฟ้าสายสีแดงในปัจจุบัน
และด้วยระบบรถไฟเดิมที่ให้บริการเป็นรถไฟทางไกลอยู่แล้ว ซึ่งเป็นรางขนาด 1.00 เมตร ทำให้ รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง จึงใช้ ราง ขนาด 1.00 เมตรเช่นกัน เพื่อไม่ให้ขนาดราง และตัวสถานี ขัดแย้งกับระบบการเดินรถไฟดั้งเดิมที่มีอยู่ จนในปัจจุบัน รถไฟฟ้าสายสีแดง ก่อสร้างแล้วเสร็จ และเปิดให้บริการแล้ว และกำลังก่อสร้างส่วนขยายเพิ่มเติม
รถไฟฟ้าสายสีแดง ซึ่งเป็นรถไฟฟ้าชานเมืองกรุงเทพฯ สร้างเป็นแบบทางยกระดับ เพื่อลดปัญหาจุดตัดกับถนน และจะสร้างรางแยกออกมาจากรถไฟทางไกลแบบดั้งเดิม เหตุผลเนื่องจาก กลุ่มผู้โดยสารรถไฟชานเมือง กับรถไฟทางไกลเป็นคนละกลุ่มกัน เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการ และอำนวยความสะดวก ในการใช้บริการของประชาชน และปัจจุบัน ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล จะมีเส้นทางรถไฟชานเมืองอยู่ 4 เส้นทาง นั่นคือ ทางทิศเหนือ ทางทิศใต้ ทางทิศตะวันออก และทางทิศตะวันตก
และด้วยจุดแข็งของทำเลที่ตั้ง และความโชคดีทางด้านภูมิศาสตร์ของระบบรางในเมืองหาดใหญ่ ทำให้ในปัจจุบันมีเส้นทางรถไฟแบบดั้งเดิมอยู่แล้วถึง 4 เส้นทาง และเส้นทางที่มีศักยภาพอีก 1 เส้นทางที่ควรสร้างมากๆอีก 1 เส้นทางคือ เส้นทางไปสตูล ซึ่งจะทำให้หาดใหญ่มีเส้นทางรถไฟอยู่ที่ 5 เส้นทางด้วยกัน ซึ่งเหมาะอย่างมากที่จะสร้างระบบรถไฟฟ้าชานเมืองที่ขนส่งผู้คนจากเขตรอบนอกเข้าสู่เมือง
โดยเป็นการถอดแบบ การก่อสร้างมาจากโครงการรถไฟชานเมืองสายสีแดงกรุงเทพฯ โดยจะสร้างรางใหม่ยกระดับขึ้นมา โดยแยกออกจากรางแบบดั้งเดิม และสถานีรถไฟเป็นแบบยกระดับ อีกทั้งมีจุดเชื่อมต่อที่สำคัญคือ สถานีรถไฟหาดใหญ่ ที่เป็นจุดรวมของระบบรถไฟหลากหลายรูปแบบ ทั้งระบบโมโนเรลเชือมเมืองกับแหล่งท่องเที่ยว รถไฟทางไกล รถไฟชานเมือง และรถไฟความเร็วสูง รถไฟฟ้า ETS ซึ่งเรียกได้ว่า ในอนาคต สถานีรถไฟหาดใหญ่จะเป็นชุมทางรถไฟที่สำคัญ อาจจะเทียบเท่ากับ สถานีรถไฟกรุงเทพอภิวัฒน์ เลยทีเดียว บางคนอาจจะแย้งว่า สถานนีรถไฟหาดใหญ่ในปัจุบัน ดูคับแคบ ขยายไม่ได้ แต่ความจริงคือ พื้นที่จริงๆของสถานีรถไฟหาดใหญ่นั้นกว้างขวางมาก ซึ่งรัชกาลที่ 5 ท่านทรงวางแผนไว้อย่างดี เพียงแต่พื้นที่จริง การรถไฟปล่อยให้เอกชนเช่า และเป็นบ้านพักของเจ้าหน้าที่รถไฟ ...
บทความตอนต่อไปคลิกที่นี้..................