🇯🇵🇹🇭 สรุปความจริงจาก MOU ปี 1996 (ไทย–ญี่ปุ่น)
✅ ขอบเขตของ MOU ปี 1996
:ญี่ปุ่นร่วมมือทางเทคนิค กับรัฐบาลไทย (MOU ปี 1996) เพื่อพัฒนา ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
ครอบคลุมแผนแม่บททั้งหมด (Master Plan) จนกระทั่งสนามบินสามารถ รองรับผู้โดยสารได้ถึง 150 ล้านคน/ปี
ซึ่งครอบคลุมทั้งเฟส 1 (ปี 2006), เฟส 2 (ปี 2016+) และส่วนต่อขยาย (อนาคต)
❌ ความเข้าใจผิดจาก คนไทย
:การ “เคลมผลงาน” ว่าเป็นความสำเร็จของ นักการเมืองคนเดียว (ซึ่งเข้ามาในช่วงปลายของโครงการ)
ทั้งที่ความจริงคือ ผลจากการ MOU ปี 1996
🛑 ผลกระทบทางการทูตและโครงสร้างพื้นฐาน
:ประเทศญี่ปุ่นไม่ MOU โครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่กับรัฐบาลไทยในยุคต่อมา จนกระทั่ง ปัจจุบัน
ส่งผลให้ปัจจุบัน ไทยต้องหันไปพึ่งจีน แทนในหลายโครงการ เช่น รถไฟความเร็วสูง
คุณภาพของโครงการในประเทศ เช่น ตึกสตง. และ คุณภาพการก่อสร้าง ถนนแย่ลง (“พระรามสยอง”) โดยไม่มีมาตรฐานเทียบเท่าโครงการที่ญี่ปุ่นร่วมมือ
🎯 ข้อสังเกตเชิงวิพากษ์:
การที่ประเทศญี่ปุ่นถอนตัวจากความร่วมมือในโครงการโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ ไม่ได้เป็นเพราะศักยภาพของวิศวกรไทย แต่เพราะ การเมืองไทยบิดเบือนความจริง และไม่ให้เครดิตตามสมควร กับพันธมิตรต่างชาติที่ให้การสนับสนุนอย่างโปร่งใสและมีมาตรฐานสูง
📚 เอกสารหลักฐาน:
Japan Society of Civil Engineers (JSCE):
🔗 PDF: Suvarnabhumi Airport Project Archive (1996–Future Plan)
🇯🇵🇹🇭 สรุปความจริง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จาก MOU ปี 1996 ระหว่าง ประเทศญี่ปุ่น และ ประเทศไทย
✅ ขอบเขตของ MOU ปี 1996
:ญี่ปุ่นร่วมมือทางเทคนิค กับรัฐบาลไทย (MOU ปี 1996) เพื่อพัฒนา ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
ครอบคลุมแผนแม่บททั้งหมด (Master Plan) จนกระทั่งสนามบินสามารถ รองรับผู้โดยสารได้ถึง 150 ล้านคน/ปี
ซึ่งครอบคลุมทั้งเฟส 1 (ปี 2006), เฟส 2 (ปี 2016+) และส่วนต่อขยาย (อนาคต)
❌ ความเข้าใจผิดจาก คนไทย
:การ “เคลมผลงาน” ว่าเป็นความสำเร็จของ นักการเมืองคนเดียว (ซึ่งเข้ามาในช่วงปลายของโครงการ)
ทั้งที่ความจริงคือ ผลจากการ MOU ปี 1996
🛑 ผลกระทบทางการทูตและโครงสร้างพื้นฐาน
:ประเทศญี่ปุ่นไม่ MOU โครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่กับรัฐบาลไทยในยุคต่อมา จนกระทั่ง ปัจจุบัน
ส่งผลให้ปัจจุบัน ไทยต้องหันไปพึ่งจีน แทนในหลายโครงการ เช่น รถไฟความเร็วสูง
คุณภาพของโครงการในประเทศ เช่น ตึกสตง. และ คุณภาพการก่อสร้าง ถนนแย่ลง (“พระรามสยอง”) โดยไม่มีมาตรฐานเทียบเท่าโครงการที่ญี่ปุ่นร่วมมือ
🎯 ข้อสังเกตเชิงวิพากษ์:
การที่ประเทศญี่ปุ่นถอนตัวจากความร่วมมือในโครงการโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ ไม่ได้เป็นเพราะศักยภาพของวิศวกรไทย แต่เพราะ การเมืองไทยบิดเบือนความจริง และไม่ให้เครดิตตามสมควร กับพันธมิตรต่างชาติที่ให้การสนับสนุนอย่างโปร่งใสและมีมาตรฐานสูง
📚 เอกสารหลักฐาน:
Japan Society of Civil Engineers (JSCE):
🔗 PDF: Suvarnabhumi Airport Project Archive (1996–Future Plan)