หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
เห็นช่องว่างระหว่างรูปนามเป็นปัญญินทรีย์
กระทู้สนทนา
มหาสติปัฏฐาน 4
รูปที่เชื่อมติดกันเป็นกลุ่มก้อน เป็นบัญญัติ เป็นตัวปิดบัง“ปัญญา” ทำให้ไม่เห็นตามความเป็นจริง “รูปนามเป็นไตรลักษณ์ เป็นอนัตตา”
การเห็นรูปนามไม่เชื่อมติดกัน ลอยฟ่องในอากาศ จึงเป็นปัญญา
การภาวนาจึงเข้าไปกำหนด รูปนามที่ลอยฟ่องในอากาสนั้น
ชีวิตประกอบด้วย ดิน น้ำ ลม ไฟ อากาสธาตุ วิญญานธาตุ
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
การเกิดดับของจิตที่มีกำลังสูง
เมื่อทันการเกิดดับของจิต จะเห็นไตรลักษณ์ของจิต แต่หากอินทรีย์มีกำลัง จะเห็นการเกิดดับ เกิดดับอย่างรวดเร็ว เป็นรอบๆ ดังลูกข่างหรือพายุทอร์ยาโด เป็นสติ สมาธิ ที่ตั้งมั่น มีกำลังสูง เห็นเกิดตรงโน้น ดับตร
สมาชิกหมายเลข 3237158
ไฟแห่งการดำรงอยู่: การทำความเข้าใจไตรลักษณ์และเหตุปัจจัยดับกิเลสและภพชาติได้อย่างไรในพุทธศาสนาแรกเริ่ม (AI GENERATED)
https://www.youtube.com/watch?v=TwtEJIAjaSk #ปฏิจจสมุปบาท #นิพพาน #วิปัสสนา คุณสงสัยไหมว่าอะไรคือแก่นแท้ของคำสอนพุทธศาสนาแรกเริ่ม? คำตอบอยู่ที่การทำความเข้าใจ ไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) และ ปฏ
สมาชิกหมายเลข 8933017
นิพพาน > อนัตตา นิจจัง สุขัง = อัตตา พรามหมณ์ , มิใช่พุทธ
สัพเพ สังขารา อนิจจัง สัพเพ สังขารา ทุกขัง สัพเพ ธัมมา อนัตตา ธัมมา = สังขตธรรม + อสังขตธรรม สังขตธรรม = สังขาร , ขันธ์ ๕ , นามรูป อสังขตธรรม = นิพพาน , บัญญัติ ไตรลักษณ์ ทั้งสังขตธรรม และอสัง
สมาชิกหมายเลข 3704790
🌿 แก่นแท้แห่งไตรลักษณ์ – เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป (AI GENERATED)
ในหัวใจของพระพุทธปัญญา มีการสังเกตที่ลึกซึ้งว่า สรรพสิ่งล้วนเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป การเคลื่อนไหวสามจังหวะนี้สะท้อนถึง ไตรลักษณ์ — ลักษณะประจำแห่งความเป็นจริง ได้แก่ อนิจจัง (ไม่เที่ยง), ทุกข
สมาชิกหมายเลข 8933017
ศัล 5 สอนให้คนเป็นคนดี มีมนุษยธรรม
คำพูดที่ว่า “ถือแค่ศีล 5 ก็เป็นอรหันต์ได้” เป็นความเชื่อหรือคำกล่าวที่ไม่สอดคล้องกับหลักคำสอนของพระพุทธศาสนาในเชิงลึก โดยเฉพาะตาม พระไตรปิฎก และ อภิธรรม ซึ่งมีหลักเกณฑ์ชัดเจนเกี่ยวกับการบร
Alway love you
ทำไมชาวพุทธหลายคนแปลความหมายของคำว่า อนัตตา ผิดไปจากคำสอนของพระพุทธองค์...
อนัตตา ตามความหมายของไตรลักษณ์ หมายถึง การไม่ไช่ตัวตนของมัน เป็นแค่สมมุติขึ้นมาเท่านั้น เช่น เราเห็นไก่ เราเรียกว่าไก่ แต่ที่จริงมันไม่ใช่ไก่ เราตั้งชื่อให้มันเท่านั้นเอง มันเป็นสัตว์โลกชนิดหนึ่งเท่าน
สมาชิกหมายเลข 1033700
ขณะเมื่อจิตหลุดพ้น เป็นอย่างไร
เมื่อภาวนานั้น อาการต่างๆจะเกิดเรียงกันมา ยังกะดูหนังซีรีส์ เห็นทุกสิ่งแยกจากกันจริงๆ “ยังกะตาเห็น” ด้วย มีตาปัญญา 1.ผู้รู้กับผู้ถูกรู้ หรือกายกับใจ มีช่องว่างอารมณ์ 2.ขณะนั้น จิตจะนิ่งส
สมาชิกหมายเลข 3237158
ช่วยอธิบายสภาวะ นามรูปปริจเฉทญาณ ตามหลักญาณ 16 (โสฬสญาณ)?
คำถาม to Deepseek (https://chat.deepseek.com/) ช่วยอธิบายสภาวะ นามรูปปริจเฉทญาณ ตามหลักญาณ 16 (โสฬสญาณ)? *************************************************************************** คำตอบ by Deepsee
สมาชิกหมายเลข 4655194
ช่องว่างอารมณ์
เมื่อแยกรูปนามได้ จิตจะมีช่องว่างอารมณ์ ช่องว่างอารมณ์คืออากาสธาตุที่อยู่ระหว่าง จิต(ตัวรู้)กับรูป, จิต(ตัวรู้)กับนาม .จิต(ตัวรู้)กับจิต(ตัวรู้) เมื่อมีช่องว่างอารมณ์ จะทำให้จิตเบาสบาย การเบาสบายทำให้
สมาชิกหมายเลข 3237158
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
มหาสติปัฏฐาน 4
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ :
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
เห็นช่องว่างระหว่างรูปนามเป็นปัญญินทรีย์
การเห็นรูปนามไม่เชื่อมติดกัน ลอยฟ่องในอากาศ จึงเป็นปัญญา
การภาวนาจึงเข้าไปกำหนด รูปนามที่ลอยฟ่องในอากาสนั้น
ชีวิตประกอบด้วย ดิน น้ำ ลม ไฟ อากาสธาตุ วิญญานธาตุ