.
.
.
รูปทรงหลอดไฟฟ้าสีฟ้าไฟฟ้า
ใจกลางทะเลทรายสีน้ำตาลเหล่านี้
คือ บ่อระเหย
โพแทช Potash
แร่ชนิดหนึ่งมีธาตุโพแทสเซียม
เป็นองค์ประกอบเกิดปนอยู่ในชั้น
ของเกลือหินแร่ชนิดนี้ส่วนใหญ่
ใช้ในอุตสาหกรรมปุ๋ย
[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ภาพถ่ายจากดาวเทียม
Landsat 8
เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2014
ตามข้อมูลของหอสังเกตการณ์โลกของ NASA
.
.

.
.
.
Intrepid Potash, Inc.
คือผู้ผลิต
potassium chloride
รายใหญ่ที่สุดของสหรัฐอเมริกา
ตั้งอยู่ริมแม่น้ำ Colorado River
ห่างจาก
Moab รัฐ
Utah ไปทางตะวันตก
ประมาณ 20 ไมล์ (30 กิโลเมตร)
บ่อเกลือแห่งนี้มีขนาด 1.5 ตร.กม. (937.5 ไร่)
และบุด้วยผ้ายางขนาดยักษ์เพื่อกักน้ำเกลือไว้
ไม่ให้ดูดซึมลงสู่พื้นดินด้านล่าง
ที่นี่แตกต่างจากบ่อระเหยเกลือที่อื่น ๆ
เพราะที่มีสีแดงตามธรรมชาติ
เกิดจากสาหร่ายบางชนิดในน้ำ
แต่สีฟ้าสดใสของบ่อระเหย
Potash มาจากสารเคมี
ด้วยการเพิ่มสีย้อมอาหารลงไปในบ่อน้ำ
เพื่อช่วยในการดูดซับแสงแดด/การระเหย
เมื่อ Potash และเกลือ แห้งดีแล้ว
ก็จะถูกรวบรวมและส่งออก
เพื่อแปรรูปทางอุตสาหกรรมต่าง ๆ
โพแทสเซียมคลอไรด์
สารนี้เป็นส่วนผสมใน 95%
ของปุ๋ยโพแทชทั้งหมด
ตามที่ Agrow ผู้ทำการตลาดปุ๋ย
ในออสเตรเลียได้รายงานเรื่องนี้
.
.
Potassium ในโลกส่วนใหญ่ที่มีจำนวนมาก
มาจากมหาสมุทรโบราณที่เคยปกคลุมพื้นโลก
แร่โพแทชก่อตัวจากเศษซากของทะเล
หรือทะเลสาบ ตามข้อมูล
Earth Observatory
หลังจากน้ำระเหยไปหมดแล้ว
เกลือโพแทสเซียม potassium salts
ก็จะตกผลึกกลายเป็นหูแร่โพแทชขนาดใหญ่
(หูแร่ แหล่งที่สายแร่มารวมตัวกันจำนวนมาก
ขุดแร่ขึ้นมาได้ง่าย แถวภาคใต้จะมีบ้านหูแร่
ที่มีดีบุกมากในอดีต คล้ายใบหูวน ๆ
รวมกันเป็นหลุมใหญ่ หิ้วแร่ขึ้นมาง่าย ๆ)
เมื่อเวลาผ่านไปเกิดการระเบิดของภูเขาไฟ
แผ่นดินไหว ความโกลาหลต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
กับเปลือกโลก/ใต้เปลือกโลก
ทำให้ฝังทับถมหินเกลือเหล่านี้ไว้
ใต้พื้นดินหลายพันฟุต และกลายเป็น
เหมืองแร่โพแทชขนาดใหญ่
Paradox Basin ซึ่งเป็นที่ตั้งของเหมืองใน Moab
คาดว่าจะมีโพแทชราว 2 พันล้านตัน
โพแทชเหล่านี้ก่อตัวขึ้นราว 300 ล้านปีก่อน
และปัจจุบันอยู่ใต้พื้นดินประมาณ 1,200 เมตร
.
.
.
.
.
ในการสกัดแร่โพแทชจากพื้นดินที่ความลึก
2,400-4,000 ฟุต (731-1,219 เมตร)
คนงานต้องเจาะหลุมลงไปดินเหมืองเกลือ
แล้วฉีดน้ำร้อนลงไป เพื่อทำการละลาย
แร่โพแทสเซียมในชั้นหินจนกลายเป็นน้ำเกลือ
น้ำเกลือจะถูกสูบออกมาให้ไหลลงสู่บ่อผิวน้ำ
เพื่อทะยอยส่งต่อไปยังบ่อระเหยถัด ๆ ไป
ดวงอาทิตย์จะทำการระเหยน้ำเกลือ
จนโพแทสเซียมตกผลึกเป็นก้อน
และเกิดเกลือประเภทอื่น ๆ ตามมา
โดยทั่วไปกระบวนการระเหยน้ำเกลือนี้
จะใช้เวลาไม่นานมากนัก
วันทำการเหมืองเกลือแห่งนี้ราว 300 วัน/ปี
ทำให้ Intrepid Potash, Inc.
ผลิตแร่โพแทชราว ๆ 700-1,000 ตันต่อวัน
เหมืองเกลือแห่งนี้เริ่มขุดเจาะตั้งแต่ปี 1965
และ Intrepid Potash คาดว่าอีกราว 125 ปี
ก่อนที่แร่โพแทชแห่งนี้จะหมดสิ้นลง
เทคนิคการขุดแร่โพแทชนี้
คล้ายกับเหมืองเกลือในทะเลทรายอื่น ๆ
ซึ่งแสงแดดและความชื้นต่ำ
ช่วยให้น้ำเกลือระเหยได้อย่างรวดเร็ว เช่น
ในทะเลทราย
Atacama ชิลี
ลวดลายเรขาคณิตที่ดูเหมือนงานศิลปะ
โดยจิตรกร
Piet Mondrian
บ่อเกลือแห่งนี้ตั้งอยู่ใกล้กับตีนเขาทอดยาว
ใน Pampa del Tamarugal
ซึ่งเป็นหุบเขาด้านในที่แห้งแล้ง
Atacama
ทะเลทรายแห้งแล้งที่สุดในโลก
ตะกอนทรายแถวนี้มีมีสีน้ำตาลเข้ม
คือ สีที่เป็นตัวแทนของ
Pampa del Tamarugal
แร่ไนเตรตและแร่ธาตุอื่น ๆ อีกมากมาย
ถูกขุดขึ้นมาได้ในภูมิภาคนี้
มีหลุมขุดแร่ บ่อเกลือ ที่สกัดแร่
และที่ทิ้งแร่อยู่ทางด้านซ้ายบนของภาพ
ที่นี่มีการขุดแร่ไอโอดีนด้วย
แร่นี้จะถูกทำให้แห้งในสีน้ำตาล
และบ่อระเหยเกลือที่มีสีสดใส
ใช้สำหรับการรวบรวมแร่ไปขายต่อไป
แร่ไนเตรตที่ขุดขึ้นมาส่วนใหญ่
จะใช้ทำเป็นปุ๋ย สำหรับพืชราคาแพง
/มูลค่าทางเกษตรที่สูงกว่า
ยังใช้ในการผลิตยาวัตถุระเบิด
ส่วนผสมแก้วและเซรามิก
ตลอดจนการบำบัดน้ำเสีย
และกระบวนการทางโลหะวิทยา
เรียบเรียง/ที่มา
https://bit.ly/31e3bdM
https://bit.ly/33ZQxko
https://go.nasa.gov/3lOU6QD
https://bit.ly/3nSWnfr
.
.
.
.
Deconstructing Mondrian
The Story Behind an Iconic Design
(Piet Mondrian)
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
ภาพถ่ายดาวเทียม (Satellite) แสดงทะเลสาบ
Great Salt Lake ที่มีสีแตกต่างกัน
ระหว่างทางตอนเหนือกับทางตอนใต้
ของทะเลสาบ เพราะทางรถไฟตัดผ่าน
.
.
.
บ่อเกลือที่ระเหยทางตอนเหนือ
ของทะเลสาบ Great Salt Lake
© International Space Station
.
.
.
ภาพมุมสูงของ Lucin Cutoff
.
.
.
ภาพมุมสูงรถจักรไอน้ำกำลังวิ่งผ่านทะเลสาบ Great Salt Lake บนเส้นทางตัดผ่าน
ทะเลสาบ Lucin Cutoff causeway
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
เมษายน 1923
ทางรถไฟ Lucin Cutoff
ข้ามสะพานขาหยั่งค้ำยัน
เหนือ Great Salt Lake ใน Utah
.
.
.
ทางรถไฟเส้นนี้ มีชุมทางรถไฟ Mid Lake
ตั้งอยู่ใจกลาง Great Salt Lake
.
.
.
ไปรษณียบัตรสะพาน
ที่มีโครงรับน้ำหนักข้างล่าง Lucin Cutoff trestle
.
.
.
ไปรษณียบัตร Lucin Cutoff
.
.
.
.
.
.
.
Polycrystalline potash เทียบขนาดกับ
เหรียญทองแดง U.S. ขนาด 19 มม.(0.75 นิ้ว)
.
.
.
สระระเหยน้ำเกลือ Potash evaporation
ใกล้ Moab, Utah
.
.
เรื่องเดิม
.
.
โดมเกลือและธารเกลือแข็งในอิหร่าน
.
.
.
.
.
มัมมี่เกลือในอิหร่าน
.
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้.

.
.
บ่อเกลือ(แร่โพแทช)ในรัฐ Utah
.
รูปทรงหลอดไฟฟ้าสีฟ้าไฟฟ้า
ใจกลางทะเลทรายสีน้ำตาลเหล่านี้
คือ บ่อระเหยโพแทช Potash
แร่ชนิดหนึ่งมีธาตุโพแทสเซียม
เป็นองค์ประกอบเกิดปนอยู่ในชั้น
ของเกลือหินแร่ชนิดนี้ส่วนใหญ่
ใช้ในอุตสาหกรรมปุ๋ย
[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ภาพถ่ายจากดาวเทียม Landsat 8
เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2014
ตามข้อมูลของหอสังเกตการณ์โลกของ NASA
.
.
.
Intrepid Potash, Inc.
คือผู้ผลิต potassium chloride
รายใหญ่ที่สุดของสหรัฐอเมริกา
ตั้งอยู่ริมแม่น้ำ Colorado River
ห่างจาก Moab รัฐ Utah ไปทางตะวันตก
ประมาณ 20 ไมล์ (30 กิโลเมตร)
บ่อเกลือแห่งนี้มีขนาด 1.5 ตร.กม. (937.5 ไร่)
และบุด้วยผ้ายางขนาดยักษ์เพื่อกักน้ำเกลือไว้
ไม่ให้ดูดซึมลงสู่พื้นดินด้านล่าง
ที่นี่แตกต่างจากบ่อระเหยเกลือที่อื่น ๆ
เพราะที่มีสีแดงตามธรรมชาติ
เกิดจากสาหร่ายบางชนิดในน้ำ
แต่สีฟ้าสดใสของบ่อระเหย
Potash มาจากสารเคมี
ด้วยการเพิ่มสีย้อมอาหารลงไปในบ่อน้ำ
เพื่อช่วยในการดูดซับแสงแดด/การระเหย
เมื่อ Potash และเกลือ แห้งดีแล้ว
ก็จะถูกรวบรวมและส่งออก
เพื่อแปรรูปทางอุตสาหกรรมต่าง ๆ
โพแทสเซียมคลอไรด์
สารนี้เป็นส่วนผสมใน 95%
ของปุ๋ยโพแทชทั้งหมด
ตามที่ Agrow ผู้ทำการตลาดปุ๋ย
ในออสเตรเลียได้รายงานเรื่องนี้
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
Potassium ในโลกส่วนใหญ่ที่มีจำนวนมาก
มาจากมหาสมุทรโบราณที่เคยปกคลุมพื้นโลก
แร่โพแทชก่อตัวจากเศษซากของทะเล
หรือทะเลสาบ ตามข้อมูล Earth Observatory
หลังจากน้ำระเหยไปหมดแล้ว
เกลือโพแทสเซียม potassium salts
ก็จะตกผลึกกลายเป็นหูแร่โพแทชขนาดใหญ่
(หูแร่ แหล่งที่สายแร่มารวมตัวกันจำนวนมาก
ขุดแร่ขึ้นมาได้ง่าย แถวภาคใต้จะมีบ้านหูแร่
ที่มีดีบุกมากในอดีต คล้ายใบหูวน ๆ
รวมกันเป็นหลุมใหญ่ หิ้วแร่ขึ้นมาง่าย ๆ)
เมื่อเวลาผ่านไปเกิดการระเบิดของภูเขาไฟ
แผ่นดินไหว ความโกลาหลต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
กับเปลือกโลก/ใต้เปลือกโลก
ทำให้ฝังทับถมหินเกลือเหล่านี้ไว้
ใต้พื้นดินหลายพันฟุต และกลายเป็น
เหมืองแร่โพแทชขนาดใหญ่
Paradox Basin ซึ่งเป็นที่ตั้งของเหมืองใน Moab
คาดว่าจะมีโพแทชราว 2 พันล้านตัน
โพแทชเหล่านี้ก่อตัวขึ้นราว 300 ล้านปีก่อน
และปัจจุบันอยู่ใต้พื้นดินประมาณ 1,200 เมตร
.
.
.
ในการสกัดแร่โพแทชจากพื้นดินที่ความลึก
2,400-4,000 ฟุต (731-1,219 เมตร)
คนงานต้องเจาะหลุมลงไปดินเหมืองเกลือ
แล้วฉีดน้ำร้อนลงไป เพื่อทำการละลาย
แร่โพแทสเซียมในชั้นหินจนกลายเป็นน้ำเกลือ
น้ำเกลือจะถูกสูบออกมาให้ไหลลงสู่บ่อผิวน้ำ
เพื่อทะยอยส่งต่อไปยังบ่อระเหยถัด ๆ ไป
ดวงอาทิตย์จะทำการระเหยน้ำเกลือ
จนโพแทสเซียมตกผลึกเป็นก้อน
และเกิดเกลือประเภทอื่น ๆ ตามมา
โดยทั่วไปกระบวนการระเหยน้ำเกลือนี้
จะใช้เวลาไม่นานมากนัก
วันทำการเหมืองเกลือแห่งนี้ราว 300 วัน/ปี
ทำให้ Intrepid Potash, Inc.
ผลิตแร่โพแทชราว ๆ 700-1,000 ตันต่อวัน
เหมืองเกลือแห่งนี้เริ่มขุดเจาะตั้งแต่ปี 1965
และ Intrepid Potash คาดว่าอีกราว 125 ปี
ก่อนที่แร่โพแทชแห่งนี้จะหมดสิ้นลง
เทคนิคการขุดแร่โพแทชนี้
คล้ายกับเหมืองเกลือในทะเลทรายอื่น ๆ
ซึ่งแสงแดดและความชื้นต่ำ
ช่วยให้น้ำเกลือระเหยได้อย่างรวดเร็ว เช่น
ในทะเลทราย Atacama ชิลี
ลวดลายเรขาคณิตที่ดูเหมือนงานศิลปะ
โดยจิตรกร Piet Mondrian
บ่อเกลือแห่งนี้ตั้งอยู่ใกล้กับตีนเขาทอดยาว
ใน Pampa del Tamarugal
ซึ่งเป็นหุบเขาด้านในที่แห้งแล้ง
Atacama ทะเลทรายแห้งแล้งที่สุดในโลก
ตะกอนทรายแถวนี้มีมีสีน้ำตาลเข้ม
คือ สีที่เป็นตัวแทนของ
Pampa del Tamarugal
แร่ไนเตรตและแร่ธาตุอื่น ๆ อีกมากมาย
ถูกขุดขึ้นมาได้ในภูมิภาคนี้
มีหลุมขุดแร่ บ่อเกลือ ที่สกัดแร่
และที่ทิ้งแร่อยู่ทางด้านซ้ายบนของภาพ
ที่นี่มีการขุดแร่ไอโอดีนด้วย
แร่นี้จะถูกทำให้แห้งในสีน้ำตาล
และบ่อระเหยเกลือที่มีสีสดใส
ใช้สำหรับการรวบรวมแร่ไปขายต่อไป
แร่ไนเตรตที่ขุดขึ้นมาส่วนใหญ่
จะใช้ทำเป็นปุ๋ย สำหรับพืชราคาแพง
/มูลค่าทางเกษตรที่สูงกว่า
ยังใช้ในการผลิตยาวัตถุระเบิด
ส่วนผสมแก้วและเซรามิก
ตลอดจนการบำบัดน้ำเสีย
และกระบวนการทางโลหะวิทยา
เรียบเรียง/ที่มา
https://bit.ly/31e3bdM
https://bit.ly/33ZQxko
https://go.nasa.gov/3lOU6QD
https://bit.ly/3nSWnfr
.
.
.
Deconstructing Mondrian
The Story Behind an Iconic Design
(Piet Mondrian)
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
ภาพถ่ายดาวเทียม (Satellite) แสดงทะเลสาบ
Great Salt Lake ที่มีสีแตกต่างกัน
ระหว่างทางตอนเหนือกับทางตอนใต้
ของทะเลสาบ เพราะทางรถไฟตัดผ่าน
.
.
.
บ่อเกลือที่ระเหยทางตอนเหนือ
ของทะเลสาบ Great Salt Lake
© International Space Station
.
.
.
ภาพมุมสูงของ Lucin Cutoff
.
.
.
ภาพมุมสูงรถจักรไอน้ำกำลังวิ่งผ่านทะเลสาบ Great Salt Lake บนเส้นทางตัดผ่าน
ทะเลสาบ Lucin Cutoff causeway
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
เมษายน 1923
ทางรถไฟ Lucin Cutoff
ข้ามสะพานขาหยั่งค้ำยัน
เหนือ Great Salt Lake ใน Utah
.
.
.
ทางรถไฟเส้นนี้ มีชุมทางรถไฟ Mid Lake
ตั้งอยู่ใจกลาง Great Salt Lake
.
.
.
ไปรษณียบัตรสะพาน
ที่มีโครงรับน้ำหนักข้างล่าง Lucin Cutoff trestle
.
.
.
ไปรษณียบัตร Lucin Cutoff
.
.
.
.
.
.
.
Polycrystalline potash เทียบขนาดกับ
เหรียญทองแดง U.S. ขนาด 19 มม.(0.75 นิ้ว)
.
.
.
สระระเหยน้ำเกลือ Potash evaporation
ใกล้ Moab, Utah
.
.
เรื่องเดิม
.
.โดมเกลือและธารเกลือแข็งในอิหร่าน
.
.
.
.
.
มัมมี่เกลือในอิหร่าน
.
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
.
.