บริษัท มีระเบียบไว้ว่า พนักงานเกษียณที่อายุ 55 ปี เมื่อครบเกษียณในปีใด ให้ถือว่าวันสิ้นปีปฏิทิน (31 ธค.) เป็นวันเกษียณอายุ และพ้นสภาพการเป็นพนักงานตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ของปีถัดไป
ดังนั้นบริษัทก็จะจ่ายค่าชดเชยให้ตาม มาตรา 118 แห่งพรบ คุ้มครองแรงงาน
คำถาม
-การจ่ายชดเชยนี้ กฎหมายบังคับใช้อย่างไร ต้องจ่ายทันทีที่สิ้นสุดการจ้างหรือไม่ เช่น ทำหนังสือแจ้งล่วงหน้าสำหรับเกษียณอายุให้แก่พนักงาน แจ้งให้พ้นสภาพการเป็นพนักงานตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม และทำการจ่ายเงินชดเชยเนื่องด้วยเกษียณอายุสิ้นเดือนกุมภาพันธ์ แบบนี้ได้หรือไม่(แจ้งไว้ในหนังสือสัญญาว่าจะจ่ายสิ้น กพ)
เพราะสิ้นเดือนธันวาคม และมกราคม มีการทำจ่ายทั้งเงินโบนัส และเงินสวัสดิการอื่นๆ เช่นพักร้อนคงเหลือให้พนักงานคนนี้ไปเป็นจำนวนมาก จึงต้องการผลักเงินตัวนี้ ออกไปจ่ายช้าไป สองเดือน
(แท้จริงแล้วจะเป็นประโยชน์กับพนักงานมาก เพราะถ้าจ่ายสิ้น ธค จะทำให้ฐานภาษีพนักงานสูง)
กฎหมายแรงงานเรื่องการจ่ายชดเชยเมื่อเกษียณอายุงาน
ดังนั้นบริษัทก็จะจ่ายค่าชดเชยให้ตาม มาตรา 118 แห่งพรบ คุ้มครองแรงงาน
คำถาม
-การจ่ายชดเชยนี้ กฎหมายบังคับใช้อย่างไร ต้องจ่ายทันทีที่สิ้นสุดการจ้างหรือไม่ เช่น ทำหนังสือแจ้งล่วงหน้าสำหรับเกษียณอายุให้แก่พนักงาน แจ้งให้พ้นสภาพการเป็นพนักงานตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม และทำการจ่ายเงินชดเชยเนื่องด้วยเกษียณอายุสิ้นเดือนกุมภาพันธ์ แบบนี้ได้หรือไม่(แจ้งไว้ในหนังสือสัญญาว่าจะจ่ายสิ้น กพ)
เพราะสิ้นเดือนธันวาคม และมกราคม มีการทำจ่ายทั้งเงินโบนัส และเงินสวัสดิการอื่นๆ เช่นพักร้อนคงเหลือให้พนักงานคนนี้ไปเป็นจำนวนมาก จึงต้องการผลักเงินตัวนี้ ออกไปจ่ายช้าไป สองเดือน
(แท้จริงแล้วจะเป็นประโยชน์กับพนักงานมาก เพราะถ้าจ่ายสิ้น ธค จะทำให้ฐานภาษีพนักงานสูง)