หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
มหาเถรสมาคม กำลังลับมีด พร้อมเตรียมลงดาบ หากมีการร้องเรียน ไม่สำรวม หรือผิดกฎหมายพระสงฆ์ของไทย
กระทู้สนทนา
พระสงฆ์
ศาสนา
ไพรวัลย์ วรรณบุตร
พระมหาสมปอง ตาลปุตฺโต
พระภิกษุ เป็นเพศบรรพชิตที่สละอาคารบ้านเรือน ออกบวชด้วยศรัทธาเห็นประโยชน์ของการฟังพระธรรม ศึกษาพระธรรมอบรมเจริญปัญญา
ขัดเกลากิเลสของตนเองยิ่งขึ้นในเพศที่สูงกว่าคฤหัสถ์ ความเป็นอยู่ของพระภิกษุก็ต้องอาศัยศรัทธาของคฤหัสถ์ อาหารบิณฑบาต
ตลอดจนถึงปัจจัยเครื่องอาศัยที่เหมาะควรแก่เพศบรรพชิต มีที่อยู่อาศัย จีวร ยารักษาโรค ก็เพื่อประคับประคองให้ชีวิตดำเนินต่อไปได้
เพื่อประโยชน์ในการอบรมเจริญปัญญาขัดเกลากิเลสต่อไป
ความเป็นบรรพชิต ก็มีการสำรวมตามพระธรรมวินัย การคึกคะนอง อย่างเพศคฤหัสถ์ เป็นสิ่งที่ไม่เหมาะควรแก่เพศบรรพชิตโดยแท้
ถ้าท่านเล่นคะนอง ไม่สำรวมทั้งคำพูด และกิริยาท่าทาง ตลอดจนถึงการนุ่งห่มไม่เรียบร้อย
แสดงถึงภาวะของผู้ที่ไม่ได้ขัดเกลากิเลส ไม่เป็นเหตุนำมาซึ่งความเลื่อมใสของผู้ที่ได้พบเห็น
ได้ทราบมาว่า พระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ไม่มีการหัวเราะมีแต่ยิ้มแย้มเท่านั้น พระภิกษุควรจะหัวเราะหรือไม่?
พุทธดำรัสตอบ “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การขับร้องคือ การร้องไห้ในวินัยของพระอริยเจ้า การฟ้อนรำคือ ความเป็นบ้าในวินัยของพระอริยเจ้าการหัวเราะ
จนเห็นฟันพร่ำเพรื่อ คือความเป็นเด็กในวินัยของพระอริยเจ้า เพราะเหตุนั้น และ จงละเสียโดยเด็ดขาดในการขับร้องฟ้อนรำ
เมื่อท่านทั้งหลายเบิกบานในธรรม ก็ควรแต่เพียงยิ้มแย้ม”
โรณสูตร ติ. อํ. (๕๔๗)
แก้ไขข้อความเมื่อ
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
ถ้าชาวพุทธร่วมมือร่วมแรงกันเป็นโยมอุปัฏฐาก (โดยไม่ถวายเงิน)ให้แก่พระภิกษุที่วัดใกล้บ้าน ก็จะเป็นการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา
หน้าที่ของพุทธบริษัท คือ ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ไม่ใช่ทำลายพระพุทธศาสนาด้วยการสนับสนุนส่งเสริมให้พระภิกษุละเมิดพระธรรมวินัย ถวายเงินแก่พระภิกษุ ซึ่งขัดกับพระวินัยของพระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ว่า "อน
สมาชิกหมายเลข 7572607
ขอเสนอให้แก้ไข ปพพ. เกี่ยวกับทรัพย์สินของพระภิกษุที่ได้มาในระหว่างเวลาที่อยู่ในสมณเพศนั้น
ภิกษุ ในความหมายหนึ่งแสดงถึงภิกษุโดยเพศ คือ ผู้ที่สละอาคารบ้านเรือน สละวงศาคณาญาติ สละทรัพย์สมบัติ มุ่งสู่เพศบรรพชิต เพื่อศึกษาพระธรรมอบรมเจริญปัญญาขัดเกลากิเลสของตนเอง ในพระวินัยที่พระพุทธเจ้า
สมาชิกหมายเลข 7572607
ข้อเสนอ 2 เรื่องเร่งด่วน แก้ปัญหาพระภิกษุละเมิดพระวินัย
ผมขอเสนอ 2 เรื่องสำคัญที่พระภิกษุควรยึดถือปฏิบัติ ไม่ขัดแย้งพระวินัย และถูกต้องตรงตามพระวินัย เรื่องแรก พระห้ามใช้โทรศัพท์มือถือโดยเด็ดขาด ก่อนจะอธิบายรายละเอียด ต้องบอกก่อนว่า โทรศัพท์มือถือในยุคปั
สมาชิกหมายเลข 3344432
ภิกษุ คือ ผู้ที่เห็นโทษเห็นภัยของกิเลส เป็นผู้มีความละอายต่ออกุศลยิ่งกว่าคฤหัสถ์
สะสมอัธยาศัยใหญ่ที่จะสละทุกอย่างที่เคยติดข้อง สละหมดไม่เหลือเลย ทั้งครอบครัว วงศาคณาญาติ และทรัพย์สมบัติ ไม่ผูกพันไม่ติดข้องในสิ่งเหล่านั้น เพื่อเข้าใกล้ความสงบจากกิเลส นี้คือจุดประสงค์ของการเป็นภิกษุ
สมาชิกหมายเลข 4554163
กิเลสไม่ได้กลัวตำรา กิเลสไม่ได้กลัวพรรษา กิเลสกลัวนักปฏิบัติ
“กิเลสไม่ได้กลัวตำรา กิเลสไม่ได้กลัวพรรษา กิเลสกลัวนักปฏิบัติ” โอวาทธรรม หลวงตาสินทรัพย์ จรณธัมโม (หลวงตาสิ้นคิด) ***บทวิเคราะห์ด้วย AI เป็นข้อความสั้นแต่ลึกซึ้ง และสามารถวิเคราะห์ได้ในหล
สมาชิกหมายเลข 3475454
บทความจากใจพระ พูดถึงประเด็นที่กำลังมีกระแสอยู่ตอนนี้
ในยามที่พระสงฆ์เพลี่ยงพล้ำ เมื่อพระภิกษุประพฤติผิดพระธรรมวินัยอย่างร้ายแรง ชาวพุทธต้องทำใจให้หนักแน่น ให้รู้จักแยกแยะว่า นั่น! เป็นเรื่องของปัจเจกบุคคล เป็นเรื่องเฉพาะตัวของคนมีกิเลสคนหนึ่ง อย่าได้หลง
Honeymile
$$฿ ต้องเข้าใจว่า พระที่เป็นอาบัติปราชิกแล้ว สึกออกไป ก็ยังมีโอกาสจะฝึกจนบรรลุธรรมได้ถึงระดับพระอนาคามี..฿$$
...ปรากฏในอรรถกถา อัคคิขันโธปมสูตร กล่าวถึงว่า พระที่เป็นอาบัติปราชิกแล้ว สึกออกไป แล้วบวชเป็นสามเณร ยังสามารถฝึกปฏิบัติธรรมจนได้บรรลุถึงระดับอนาคามี ก็ได้...แต่ พระสูตรนี้ พระแทบไม่เคยเอามาสอน หรือ ม
สมาชิกหมายเลข 8557176
เศร้าใจเห็นพระทำตลก
ท่านมหาบอกเทศน์ตลกแบบนี้เอาใจวัยรุ่น เฮ้อ..ทำไมท่านไม่เอาใจอุบาสก อุบาสิกาที่เป็นพุทธมามกะบ้างล่ะครับ ไม่รู้หรือการหัวเราะโปกฮาของท่านสร้างความเศร้าใจแก่สาธุชน สร้างความหมองแก่ตัวท่านต่อศาสนาและต่อคำส
oa_wiyada
วันเข้าพรรษา: ทำไมต้อง "เข้าพรรษา" และเราได้อะไรจากประเพณีนี้?
คุณเคยสงสัยไหมว่า วันเข้าพรรษา ที่เวียนมาถึงในทุก ๆ ปี มีความสำคัญอย่างไร? ทำไมพระภิกษุสงฆ์ต้องจำพรรษาตลอด 3 เดือน? และประเพณีเก่าแก่เหล่านี้ยังคงมีคุณค่าและให้ข้อคิดอะไรกับชีวิตเราในยุคปัจจุบันได้บ้า
ตองจี
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
พระสงฆ์
ศาสนา
ไพรวัลย์ วรรณบุตร
พระมหาสมปอง ตาลปุตฺโต
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ :
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
มหาเถรสมาคม กำลังลับมีด พร้อมเตรียมลงดาบ หากมีการร้องเรียน ไม่สำรวม หรือผิดกฎหมายพระสงฆ์ของไทย
ขัดเกลากิเลสของตนเองยิ่งขึ้นในเพศที่สูงกว่าคฤหัสถ์ ความเป็นอยู่ของพระภิกษุก็ต้องอาศัยศรัทธาของคฤหัสถ์ อาหารบิณฑบาต
ตลอดจนถึงปัจจัยเครื่องอาศัยที่เหมาะควรแก่เพศบรรพชิต มีที่อยู่อาศัย จีวร ยารักษาโรค ก็เพื่อประคับประคองให้ชีวิตดำเนินต่อไปได้
เพื่อประโยชน์ในการอบรมเจริญปัญญาขัดเกลากิเลสต่อไป
ความเป็นบรรพชิต ก็มีการสำรวมตามพระธรรมวินัย การคึกคะนอง อย่างเพศคฤหัสถ์ เป็นสิ่งที่ไม่เหมาะควรแก่เพศบรรพชิตโดยแท้
ถ้าท่านเล่นคะนอง ไม่สำรวมทั้งคำพูด และกิริยาท่าทาง ตลอดจนถึงการนุ่งห่มไม่เรียบร้อย
แสดงถึงภาวะของผู้ที่ไม่ได้ขัดเกลากิเลส ไม่เป็นเหตุนำมาซึ่งความเลื่อมใสของผู้ที่ได้พบเห็น
ได้ทราบมาว่า พระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ไม่มีการหัวเราะมีแต่ยิ้มแย้มเท่านั้น พระภิกษุควรจะหัวเราะหรือไม่?
พุทธดำรัสตอบ “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การขับร้องคือ การร้องไห้ในวินัยของพระอริยเจ้า การฟ้อนรำคือ ความเป็นบ้าในวินัยของพระอริยเจ้าการหัวเราะ
จนเห็นฟันพร่ำเพรื่อ คือความเป็นเด็กในวินัยของพระอริยเจ้า เพราะเหตุนั้น และ จงละเสียโดยเด็ดขาดในการขับร้องฟ้อนรำ
เมื่อท่านทั้งหลายเบิกบานในธรรม ก็ควรแต่เพียงยิ้มแย้ม”
โรณสูตร ติ. อํ. (๕๔๗)