การเป็น “นักการเมือง” เป็นเพียงคำนิยามที่นำมาใช้กันอย่างฟุ่มเฟือย อันถ้าพยายามให้เป็นการยกบรรทัดฐานให้เป็นแง่ดีกับตัวเองก็จะหมายถึงว่า นักการเมืองที่มีคุณวุฒิ จริยธรรมและคุณธรรม เป็นสำคัญ ส่วนให้เป็นแง่ลบกับฝ่ายตรงข้ามก็จะหมายถึงว่า นักการเมืองที่ทุจจริตโกงกิน เอาเงินภาษีหรือประชานิยมมาหลอกซื้อความชอบธรรมให้กับตัวเองและพวกพร้อง ในกรณีแรกนำมาใช้เป็นเหตุผลถึงการสร้างกระแสต่อต้านและจำกัดเนื้อที่ในสังคมกับผู้ที่จะมาเป็นนักการเมืองคู่แข่ง ส่วนในกรณีที่สองก็เป็นเหตุผลที่นำมาใช้เพื่อการปฎิรูป ฯลฯ กับระบบประชาธิปไตย ที่เป็นลักษณะของอำนาจ “บริหาร” ให้เป็นลักษณะของอำนาจ “ปกครอง” หรือเรียกได้ว่า “ประชาธิปไตยกรายพันธ์” นั่นเอง ครับ
จากความหมายพื้นฐานของคำว่า “นักการเมือง” นั้นหมายถึง บุคคล ที่เสนอตัวเองในสถานะผู้รับจ้างวานในการบริหารอำนาจอธิปไตยของปวงชนทั้งหลายให้มีแนวโน้มหรือผลประโยชน์ตามกรอบเจตนารมณ์ที่บัญญัติเอาไว้ในสัญญาประชาคม หรือ รธน. นั้นๆ หรือสรุปได้ว่า “ผู้รับจ้างบริหารประชานิยม” นั่นเอง คำว่า “ประชานิยม” เป็นความต้องการของสังคม หรือปวงชนทั้งหลายในช่วงขณะนั้นๆ อันมิใช่ “ความเป็นวิชาการ” อย่างเช่น รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ หรือ การทหาร เป็นต้น ด้วยเหตุผลนี้ การที่จะเป็นนักการเมือง มิได้มีมาตราฐานอยู่ที่ระดับการศึกษา แต่จะขึ้นอยู่ที่บุคคลิค ความสามารถในการเข้าถึงปัญหาและความต้องการของสังคม หรือปวงชนทั้งหลาย อันเรียกว่า “ประชานิยม” นั่นเอง ส่วนการที่จะทำให้สามารถก้าวเข้าสู่สถานะภาพเป็นผู้แทน ก็คือการแสดงออกซึ่งวิสัยทัศน์โดยการนำเสนอ ประชานิยม ในสังคมอันที่ได้รับการยอมรับ เมื่อเป็นเช่นนี้ นักการเมืองผู้สามารถสร้างความเชื่อมั่นกับนโยบายลงเลือกตั้งโดยใช้ประชานิยมเข้าสมัครแข่งขัน ก็ไม่เคยมีความจำเป็นใดๆ ต่อการกระทำทุจริตเลือกตั้งในสารพัดรูปแบบ นอกเสียว่า ต้องการให้ได้มาซึ่งสถานะภาพของการเป็นผู้แทนโดยขาดความสามารถในการเข้าถึงประชานิยมในขณะนั้นๆ ครับ
สำหรับ จริยธรรมและคุณธรรม ที่ใช้เป็นข้อกำหนดต่อนักการเมือง ตามความเป็นจริงแล้วเป็นบุคคลิคส่วนบุคคล อันเป็นเพียงข้อเสริมในการยอมรับและไว้วางใจต่อการเสนอตัวเข้าเป็น “ผู้รับจ้างบริหารประชานิยม” ที่มิได้มีความผูกพันต่อ ความสามารถเพื่อบรรลุถึงความต้องการของผู้จ้างวาน หรือคือปวงชนทั้งหลาย ด้วยเหตุผลเช่นนี้ ทำให้ บุคคลิค ศาสนา ความเชื่อ หรือทัศน์คติ ที่ปรากฏเป็นธรรมชาติในสังคมอยู่ จึงไม่สามารถเป็นข้อจำกัดหรือข้อกำหนดต่อการเป็นนักการเมืองได้ อย่างเช่น ดีแต่พูด ขยันกะล่อน หรือลิ้นสองแฉก เป็นต้น เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งผู้จ้างวานในสังคม หรือปวงชนทั้งหลายสามารถรับทราบและใช้วิจารณานในการเลือกเฟ้นผู้รับจ้างวาน จึงก็ไม่มีความจำเป็น
ที่จะต้องกำหนดอยู่ในสัญญาประชาคม หรือ รธน.และกฏหมายประกอบ รวมทั้งการสร้างกระแสยอมรับในสังคม นอกเสียว่า ผู้จ้างวานมิใช่ปวงชนทั้งหลาย คือเป็นผู้อยู่ในสถานะผู้ปกครองที่กำหนดให้ผู้เข้ารับการจ้างวาน มีกรอบจริยธรรมหรือคุณธรรม ตามต้องการ ครับ
ในสถานะ นักการเมือง ที่เป็นผู้รับจ้างวานบริหารประชานิยม เป็นเพียงผู้ประกอบอาชีพแขนงหนึ่ง โดยใช้แรงงานและความสามารถเพื่อให้ได้มาซึ่งค่าตอบแทน อันไม่ว่าจะเป็นงานภาครัฐ หรือเอกชน สิ่งที่เลี่ยงไม่ได้ คือกรณีกระทำทุจริตหรือมิชอบด้วยสัญญาจ้างวาน ในกรณีนี้เป็นผลให้มีมาตราการชี้ชัดและมาตราการเรียกค่าเสียหายในกรอบของ รธน. ในอำนาจตุลาการและกฏหมายต่างๆ เป็นพื้นฐานอยู่แล้ว อันไม่มีความจำเป็นใดๆ ที่จะต้องมีระบบองค์กรแทรกแทรงเพื่อการนี้โดยเฉพาะ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเป็นนักการเมือง หรือผู้รับจ้างวานของสังคม อันหมายถึงว่า ผู้จ้างวานทั้งหลายมีสิทธิอันชอบธรรมในการตรวจสอบความถูกต้องในการดำรงค์ต่ำแหน่งผู้แทน หรือผู้รับจ้างวาน ส่วนผู้รับจ้างวานก็จะมีความรับผิดชอบในการแสดงถึงความโปร่งสัยและซื่อสัตย์สุจริตต่อผู้จ้างวานในทุกช่วงขณะที่รับจ้างวาน ด้วยเหตุผลนี้ การสร้างกระแสในทางลบต่างๆ กับนักการเมืองโดยรวม จึงเป็นสิ่งที่ไม่ชอบธรรมในด้าน จริยธรรมและการให้ความเป็นธรรมเสมอภาค ครับ
สภาวะการเมืองที่กระทำต่อนักการเมืองที่เป็นคู่แข่งหรือเสริมสร้างตัวเอง เป็นเหตุผลที่ทำให้กระแสความเข้าใจถึง “นักการเมือง” ที่ผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริงในระยะสั้น และในระยะยาวคือความเสื่อมเสียความหมายของ “ระบบประชาธิปไตย” อย่างตัวอย่างเช่น
นักการเมืองคนหนึ่ง ที่เป็นเพียง จนท.รัฐ ระดับประทวน แต่สามารถใช้บุคคลิคและวิสัยทัศน์ในตัวถึงการเข้าถึงต่อประชานิยมด้วยตัวเองจนสามารถได้รับความเชื่อมั่นและไว้วางใจให้เป็น ผู้แทน ปชช. (สส.) และผลสุดท้ายต้องกรายเป็นผู้ต้องหาในสังคมโดยไม่ตั้งใจ
นักการเมืองอีกคนหนึ่ง ที่มีคุณวุฒิระดับสูงสร้างภาพจริยธรรมและคุณธรรมความสงสาร ฯลฯ จนได้มาซึ่งความเชื่อมั่นและไว้วางใจให้เป็น ผู้แทน ปชช. ในระดับสูงโดยมิต้องใช้ การเข้าถึงประชานิยม และผลงานที่ปรากฏก็คือสร้างเสาอนุสรณ์ และวิธีบริหารหุ้นเสีย ให้กับสังคม
สำหรับผู้ที่ต้องการวินิจฉัย วิจารณ์ หรือมีจุดยืนต่อคำว่า นักการเมือง สมควรที่จะต้องตรวจสอบความเข้าใจด้วยว่า ตัวเองเข้าใจความหมายของคำนี้ ตรงกับความเป็นจริง หรือไม่ อย่างได เพราะทุกคนเป็นเพียงคนหนึ่งของปวงชนทั้งหลายเท่านั้น ถูกใหมครับ
พื้นฐานของคำว่า นักการเมือง ในระบบ ประชาธิปไตย
จากความหมายพื้นฐานของคำว่า “นักการเมือง” นั้นหมายถึง บุคคล ที่เสนอตัวเองในสถานะผู้รับจ้างวานในการบริหารอำนาจอธิปไตยของปวงชนทั้งหลายให้มีแนวโน้มหรือผลประโยชน์ตามกรอบเจตนารมณ์ที่บัญญัติเอาไว้ในสัญญาประชาคม หรือ รธน. นั้นๆ หรือสรุปได้ว่า “ผู้รับจ้างบริหารประชานิยม” นั่นเอง คำว่า “ประชานิยม” เป็นความต้องการของสังคม หรือปวงชนทั้งหลายในช่วงขณะนั้นๆ อันมิใช่ “ความเป็นวิชาการ” อย่างเช่น รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ หรือ การทหาร เป็นต้น ด้วยเหตุผลนี้ การที่จะเป็นนักการเมือง มิได้มีมาตราฐานอยู่ที่ระดับการศึกษา แต่จะขึ้นอยู่ที่บุคคลิค ความสามารถในการเข้าถึงปัญหาและความต้องการของสังคม หรือปวงชนทั้งหลาย อันเรียกว่า “ประชานิยม” นั่นเอง ส่วนการที่จะทำให้สามารถก้าวเข้าสู่สถานะภาพเป็นผู้แทน ก็คือการแสดงออกซึ่งวิสัยทัศน์โดยการนำเสนอ ประชานิยม ในสังคมอันที่ได้รับการยอมรับ เมื่อเป็นเช่นนี้ นักการเมืองผู้สามารถสร้างความเชื่อมั่นกับนโยบายลงเลือกตั้งโดยใช้ประชานิยมเข้าสมัครแข่งขัน ก็ไม่เคยมีความจำเป็นใดๆ ต่อการกระทำทุจริตเลือกตั้งในสารพัดรูปแบบ นอกเสียว่า ต้องการให้ได้มาซึ่งสถานะภาพของการเป็นผู้แทนโดยขาดความสามารถในการเข้าถึงประชานิยมในขณะนั้นๆ ครับ
สำหรับ จริยธรรมและคุณธรรม ที่ใช้เป็นข้อกำหนดต่อนักการเมือง ตามความเป็นจริงแล้วเป็นบุคคลิคส่วนบุคคล อันเป็นเพียงข้อเสริมในการยอมรับและไว้วางใจต่อการเสนอตัวเข้าเป็น “ผู้รับจ้างบริหารประชานิยม” ที่มิได้มีความผูกพันต่อ ความสามารถเพื่อบรรลุถึงความต้องการของผู้จ้างวาน หรือคือปวงชนทั้งหลาย ด้วยเหตุผลเช่นนี้ ทำให้ บุคคลิค ศาสนา ความเชื่อ หรือทัศน์คติ ที่ปรากฏเป็นธรรมชาติในสังคมอยู่ จึงไม่สามารถเป็นข้อจำกัดหรือข้อกำหนดต่อการเป็นนักการเมืองได้ อย่างเช่น ดีแต่พูด ขยันกะล่อน หรือลิ้นสองแฉก เป็นต้น เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งผู้จ้างวานในสังคม หรือปวงชนทั้งหลายสามารถรับทราบและใช้วิจารณานในการเลือกเฟ้นผู้รับจ้างวาน จึงก็ไม่มีความจำเป็น
ที่จะต้องกำหนดอยู่ในสัญญาประชาคม หรือ รธน.และกฏหมายประกอบ รวมทั้งการสร้างกระแสยอมรับในสังคม นอกเสียว่า ผู้จ้างวานมิใช่ปวงชนทั้งหลาย คือเป็นผู้อยู่ในสถานะผู้ปกครองที่กำหนดให้ผู้เข้ารับการจ้างวาน มีกรอบจริยธรรมหรือคุณธรรม ตามต้องการ ครับ
ในสถานะ นักการเมือง ที่เป็นผู้รับจ้างวานบริหารประชานิยม เป็นเพียงผู้ประกอบอาชีพแขนงหนึ่ง โดยใช้แรงงานและความสามารถเพื่อให้ได้มาซึ่งค่าตอบแทน อันไม่ว่าจะเป็นงานภาครัฐ หรือเอกชน สิ่งที่เลี่ยงไม่ได้ คือกรณีกระทำทุจริตหรือมิชอบด้วยสัญญาจ้างวาน ในกรณีนี้เป็นผลให้มีมาตราการชี้ชัดและมาตราการเรียกค่าเสียหายในกรอบของ รธน. ในอำนาจตุลาการและกฏหมายต่างๆ เป็นพื้นฐานอยู่แล้ว อันไม่มีความจำเป็นใดๆ ที่จะต้องมีระบบองค์กรแทรกแทรงเพื่อการนี้โดยเฉพาะ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเป็นนักการเมือง หรือผู้รับจ้างวานของสังคม อันหมายถึงว่า ผู้จ้างวานทั้งหลายมีสิทธิอันชอบธรรมในการตรวจสอบความถูกต้องในการดำรงค์ต่ำแหน่งผู้แทน หรือผู้รับจ้างวาน ส่วนผู้รับจ้างวานก็จะมีความรับผิดชอบในการแสดงถึงความโปร่งสัยและซื่อสัตย์สุจริตต่อผู้จ้างวานในทุกช่วงขณะที่รับจ้างวาน ด้วยเหตุผลนี้ การสร้างกระแสในทางลบต่างๆ กับนักการเมืองโดยรวม จึงเป็นสิ่งที่ไม่ชอบธรรมในด้าน จริยธรรมและการให้ความเป็นธรรมเสมอภาค ครับ
สภาวะการเมืองที่กระทำต่อนักการเมืองที่เป็นคู่แข่งหรือเสริมสร้างตัวเอง เป็นเหตุผลที่ทำให้กระแสความเข้าใจถึง “นักการเมือง” ที่ผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริงในระยะสั้น และในระยะยาวคือความเสื่อมเสียความหมายของ “ระบบประชาธิปไตย” อย่างตัวอย่างเช่น
นักการเมืองคนหนึ่ง ที่เป็นเพียง จนท.รัฐ ระดับประทวน แต่สามารถใช้บุคคลิคและวิสัยทัศน์ในตัวถึงการเข้าถึงต่อประชานิยมด้วยตัวเองจนสามารถได้รับความเชื่อมั่นและไว้วางใจให้เป็น ผู้แทน ปชช. (สส.) และผลสุดท้ายต้องกรายเป็นผู้ต้องหาในสังคมโดยไม่ตั้งใจ
นักการเมืองอีกคนหนึ่ง ที่มีคุณวุฒิระดับสูงสร้างภาพจริยธรรมและคุณธรรมความสงสาร ฯลฯ จนได้มาซึ่งความเชื่อมั่นและไว้วางใจให้เป็น ผู้แทน ปชช. ในระดับสูงโดยมิต้องใช้ การเข้าถึงประชานิยม และผลงานที่ปรากฏก็คือสร้างเสาอนุสรณ์ และวิธีบริหารหุ้นเสีย ให้กับสังคม
สำหรับผู้ที่ต้องการวินิจฉัย วิจารณ์ หรือมีจุดยืนต่อคำว่า นักการเมือง สมควรที่จะต้องตรวจสอบความเข้าใจด้วยว่า ตัวเองเข้าใจความหมายของคำนี้ ตรงกับความเป็นจริง หรือไม่ อย่างได เพราะทุกคนเป็นเพียงคนหนึ่งของปวงชนทั้งหลายเท่านั้น ถูกใหมครับ