วาทะธรรม - พุทธทาส อินทปัญโญ จาก หนังสือนักเขียน ฉบับพิเศษ ฯ หน้า ๘๙
(๑)
การที่มีความทุกข์ -------------- (นันทิใดในเวทนา เพราะยังมีอุปธิ นั่นคือทุกข์อริยสัจ --- ตรงนี้ ผมเสนอเอง)
มีอะไรเสียบ้างนี้
เป็นบทเรียนที่ดี ทำให้ไม่ลืมตัว
(๒)
ความสุขสำราญที่ไม่มีธรรมเป็นรากฐาน ก็คือความทุกข์ทรมาน ที่กำลังรอเวลาอยู่
(๓)
จงดำเนินชีวิตของท่าน
ไปบนหนทางที่ส่องส่างอยู่ด้วยแสงแห่งพระธรรม
(๔)
เมื่อรักษาจิตไม่ได้
กายก็จะทรุดโทรมลงพร้อมกับจิต
^^^^
ข้อที่ ๔ คือ ประเด็นสนทนา
ขอมองต่างว่า เมื่อทำให้เกิด อภิเจตสิก (คำนี้เป็นพระพุทธภาษิตฯ) ไม่ได้ นั่นแหละคือ เหตุที่ รักษาจิตไม่ได้ ฯลฯ
ดังนั้น
(๑) อยู่ๆ ก็จะ ตั้งหน้าตั้งตา "รักษาจิต" (ไม่ว่าแบบไหนฯ) ไปทำไม
(๒) แค่ ทำ อภิเจตสิก ให้เกิดขึ้น ตามที่ตรัสไว้ (ทำอย่างไร? ดูที่ตรัส "อานิสงส์ของอานาปานสติ ๗ ประการ" ที่ ตั้งต้นด้วย "กายคตาสติ (สูตร)"
หมายเหตุ
ท่านพุทธทาสกล่าวไม่ผิด นะครับ
วาทะธรรม พุทธทาส อินทปัญโญ กับ มุมมองแบบเซนเถรวาทฯ
(๑)
การที่มีความทุกข์ -------------- (นันทิใดในเวทนา เพราะยังมีอุปธิ นั่นคือทุกข์อริยสัจ --- ตรงนี้ ผมเสนอเอง)
มีอะไรเสียบ้างนี้
เป็นบทเรียนที่ดี ทำให้ไม่ลืมตัว
(๒)
ความสุขสำราญที่ไม่มีธรรมเป็นรากฐาน ก็คือความทุกข์ทรมาน ที่กำลังรอเวลาอยู่
(๓)
จงดำเนินชีวิตของท่าน
ไปบนหนทางที่ส่องส่างอยู่ด้วยแสงแห่งพระธรรม
(๔)
เมื่อรักษาจิตไม่ได้
กายก็จะทรุดโทรมลงพร้อมกับจิต
^^^^
ข้อที่ ๔ คือ ประเด็นสนทนา
ขอมองต่างว่า เมื่อทำให้เกิด อภิเจตสิก (คำนี้เป็นพระพุทธภาษิตฯ) ไม่ได้ นั่นแหละคือ เหตุที่ รักษาจิตไม่ได้ ฯลฯ
ดังนั้น
(๑) อยู่ๆ ก็จะ ตั้งหน้าตั้งตา "รักษาจิต" (ไม่ว่าแบบไหนฯ) ไปทำไม
(๒) แค่ ทำ อภิเจตสิก ให้เกิดขึ้น ตามที่ตรัสไว้ (ทำอย่างไร? ดูที่ตรัส "อานิสงส์ของอานาปานสติ ๗ ประการ" ที่ ตั้งต้นด้วย "กายคตาสติ (สูตร)"
หมายเหตุ
ท่านพุทธทาสกล่าวไม่ผิด นะครับ