
2.04 ที่พูดไปแล้ว 7 เจตสิก ในช่วงนี้จะได้เรียนเจตสิกอื่นๆต่อไป
ต่อไปก็จะเป็นเจตสิกลำดับที่ 8 ก็คือ จิตเตกัคคะตา หรือ ที่เรานิยมเรียกว่า เอกะคะตาเจตะสิก หรือ สมาธิ หรือ สมถะ อะไรพวกนั้น
ถ้าชื่อเจตสิกตามแบบบาลีก็คือ จิตเตกัคคะตา
ภาวะความเป็นหนึ่งแห่งจิตนะครับ
ท่านก็มีคำจำกัดความว่า จิตตัสสะ เอกัคคะภาโว จิตเตกัคคะตา
ภาวะความเป็นเลิศแห่งจิต เอกัคคะ ก็คือ ความเป็นเลิศอย่างเอกเลย กัคคะ ความมีอารมณ์เดียวเป็นหลัก
ภาวะที่มีอารมณ์อันเดียวแห่งจิต เรียกว่า จิตเตกัคคะตา
คะ ก็คือ อารมณ์ นะ
เอกะ แปลว่า หนึ่ง
ภาวะที่มีอารมณ์เป็นหนึ่ง แห่งจิต เรียกว่า จิตเตกัคคะตา
สมาธิเสตัง นามัง คำนี้นะ จิตเตกัคคะตา นี้นะ เป็นชื่อของสมาธิ
สมาธิสเสตัง สมาธิสสะ + เอตัง
คำนี้ จิตเตกัคคะตา เป็นชื่อของสมาธิ3.51
3.51 ตรงนี้ก็คือ วะจะนะถะ หรือ คำจำกัดความ
ต่อไปก็ ลักขะณาทิจะตุกะ
โสอะวิสาระลักขะโณ
เอกัคคตาหรือจิตเตกัคคตา หรือ สมาธินั้นมีลักษณะ ไม่ซัดส่าย
อะวิสาระ แปลว่า ไม่ซัดส่าย ครับ นะ
ไม่ซัดส่าย ไม่ไปทางซ้ายขวาหน้าหลังไม่ลงข้างล่างไม่ขึ้นบนฟ้า อะไรอย่างงี้ เรียกว่า ไม่ซัดส่าย หรือ
อะวิกเขปะลักขะโณ วา
หรือ จิตเตกัคคะตานั้น มีลักษณะไม่ฟุ้งซ่าน
อะวิกเขปะ คือ ไม่ฟุ้ง ไม่ซัดส่ายก็ได้ ไม่ฟุ้งซ่านก็ได้ครับ
นี่ลักษณะเป็นอย่างนี้ 4.38
กิจหน้าที่ของสมาธิก็คือ สะหะชาตานัง สัมปิณฑะนะระโส มีกิจหน้าที่ในการรวบรวม สหชาตธรรม รวมเพื่อนๆที่เกิดด้วยกันมา
สัมปิณฑะระนะ แปลว่า รวม
รวมให้เป็นกลุ่มๆ เป็นก้อนๆเดียวกัน
รวมใคร ก็รวมเพื่อนที่เกิดด้วยกันก็คือ รวมสะหะชาตะธรรม ให้เพื่อนๆเนี่ยสงบ มารวมสุมหัวกัน เหมือนมารวมเป็นหัวเดียวนะจะได้พุ่งเป้าเป็นที่อะไรก็ว่าไป
นี่กิจหน้าที่ของสมาธิ
อุปมาเหมือนอะไร
นะหานิยะจุณณานัง อุทะกัง วิยะ
อุปมาเหมือนกับน้ำที่ ทำหน้าที่ในการเชื่อม น้ำเข้าไปในสบู่สำหรับอาบน้ำ
สบู่สำหรับอาบน้ำเนี่ยทุกคนก็เคยอาบน้ำอยู่นะครับ
ก็จะมีน้ำที่ลื่นๆเหนียวๆ ซึมเข้าไปในทุกอณูของสบูเลย มันก็จะทำให้สบู่นั้นติดเป็นก้อนเดียวกัน ก็กลายเป็นก้อนสบู่
การจะเป็นก้อนสบู่เนี้ยมันมีน้ำอยู่นะ
สมาธิก็จะเหมือนน้ำตัวนั้นนะ อุทะกัง น้ำที่มันเชื่อมเพื่อนๆก้อนเล็กจุลๆไว้ด้วยกัน พวกจุลเล็กๆทั้งหลายก็คือ สหชาตธรรม ให้มารวมเป็นก้อนเดียวกัน เนี้ยทำนองเนี้ยนะครับ
นี่ก็ สมาธิ นี้ก็อุปมาเหมือนน้ำที่ทำหน้าที่ในการรวมก้อนสบู่เข้ามา จริงๆก็ก้อนสบู่ก็คือ หลายๆส่วนก็คือจุลเล็กๆนั่นแหละนะ
แบบที่เราอาบแต่ละส่วนก็ออกมาเรื่อย ออกมาเรื่อย มันก็เลยเล็กลงเรื่อยๆใช่ไม๊
ก่อนมันจะมาเป็นก้อนๆเนี่ย น้ำมันจะมารวมกัน น้ำเป็นตัวเชื่อมนั่นเอง
น้ำที่เป็นตัวเชื่อมก็เป็นหน้าที่ของ สมาธิ
ทำหน้าที่ รวมสหชาตธรรม ครับ
อุปะสะมะ ปัจจุปัฎฐาโน
อาการปรากฏก็คือ ความสงบระงับ
อุปะสะมะ ก็คือสงบ นะครับ
อาการปรากฏของสมาธิก็คือ สงบ พวกเรารู้จักดี
วิเสสะโต สุขะปะทัฎฐาโน
โดยพิเศษแล้ว สมาธิ หรือ จิตเตกัคคตา มีสุขเป็นเหตุใกล้
มีสุขเป็นปทัฎฐานให้เกิดสมาธิ
สุขในที่นี้ก็คือ สุขเวทนา นั่นแหละ
มีสุขเวทนาเป็นเหตุใกล้7.08
364

เรื่องนี้ในตำราเขียนไว้ว่าอย่างไรด้วย
น226

-----------
เรื่องลักขณาทิจตุกะนี้หาคนสอนยากบังเอิญเจอสอนเรื่องเจตสิกแล้วอาจารย์ยกลักขณาทิจตุกะขึ้นมาตามคัมภีร์อภิธัมมาวตารบาลี จึงยกมาตั้งเป็นกระทู้ใหม่เพื่อสะดวกในการค้นคว้า
อาจารย์สุภีร์ ทุมทอง สอนเรื่องนี้หาฟังได้ที่นี่
อภิธัมมาวตาร ครั้งที่4(ต่อ)
4. จิตเตกัคคตา สัทธา สติ วิริยะ ปัญญา
5. ชีวิตะ อโลภะ โทสะ หิริ โอตตัปปะ
6. ธรรมคู่12 มีกายปัสสัทธิเป็นต้น
มูลนิธิมายาโคตมี 18 มิ.ย. 65
------
ส่วนตำราวัดท่ามะโอ ใช้เล่มนี้ครับ
ตำราอภิธัมมาวตารวัดท่ามะโอ
น1

น2

น3

น46

น47

จิตเตกัคคะตา --จิตฺเตกคฺคตา
2.04 ที่พูดไปแล้ว 7 เจตสิก ในช่วงนี้จะได้เรียนเจตสิกอื่นๆต่อไป
ต่อไปก็จะเป็นเจตสิกลำดับที่ 8 ก็คือ จิตเตกัคคะตา หรือ ที่เรานิยมเรียกว่า เอกะคะตาเจตะสิก หรือ สมาธิ หรือ สมถะ อะไรพวกนั้น
ถ้าชื่อเจตสิกตามแบบบาลีก็คือ จิตเตกัคคะตา
ภาวะความเป็นหนึ่งแห่งจิตนะครับ
ท่านก็มีคำจำกัดความว่า จิตตัสสะ เอกัคคะภาโว จิตเตกัคคะตา
ภาวะความเป็นเลิศแห่งจิต เอกัคคะ ก็คือ ความเป็นเลิศอย่างเอกเลย กัคคะ ความมีอารมณ์เดียวเป็นหลัก
ภาวะที่มีอารมณ์อันเดียวแห่งจิต เรียกว่า จิตเตกัคคะตา
คะ ก็คือ อารมณ์ นะ
เอกะ แปลว่า หนึ่ง
ภาวะที่มีอารมณ์เป็นหนึ่ง แห่งจิต เรียกว่า จิตเตกัคคะตา
สมาธิเสตัง นามัง คำนี้นะ จิตเตกัคคะตา นี้นะ เป็นชื่อของสมาธิ
สมาธิสเสตัง สมาธิสสะ + เอตัง
คำนี้ จิตเตกัคคะตา เป็นชื่อของสมาธิ3.51
3.51 ตรงนี้ก็คือ วะจะนะถะ หรือ คำจำกัดความ
ต่อไปก็ ลักขะณาทิจะตุกะ
โสอะวิสาระลักขะโณ
เอกัคคตาหรือจิตเตกัคคตา หรือ สมาธินั้นมีลักษณะ ไม่ซัดส่าย
อะวิสาระ แปลว่า ไม่ซัดส่าย ครับ นะ
ไม่ซัดส่าย ไม่ไปทางซ้ายขวาหน้าหลังไม่ลงข้างล่างไม่ขึ้นบนฟ้า อะไรอย่างงี้ เรียกว่า ไม่ซัดส่าย หรือ
อะวิกเขปะลักขะโณ วา
หรือ จิตเตกัคคะตานั้น มีลักษณะไม่ฟุ้งซ่าน
อะวิกเขปะ คือ ไม่ฟุ้ง ไม่ซัดส่ายก็ได้ ไม่ฟุ้งซ่านก็ได้ครับ
นี่ลักษณะเป็นอย่างนี้ 4.38
กิจหน้าที่ของสมาธิก็คือ สะหะชาตานัง สัมปิณฑะนะระโส มีกิจหน้าที่ในการรวบรวม สหชาตธรรม รวมเพื่อนๆที่เกิดด้วยกันมา
สัมปิณฑะระนะ แปลว่า รวม
รวมให้เป็นกลุ่มๆ เป็นก้อนๆเดียวกัน
รวมใคร ก็รวมเพื่อนที่เกิดด้วยกันก็คือ รวมสะหะชาตะธรรม ให้เพื่อนๆเนี่ยสงบ มารวมสุมหัวกัน เหมือนมารวมเป็นหัวเดียวนะจะได้พุ่งเป้าเป็นที่อะไรก็ว่าไป
นี่กิจหน้าที่ของสมาธิ
อุปมาเหมือนอะไร
นะหานิยะจุณณานัง อุทะกัง วิยะ
อุปมาเหมือนกับน้ำที่ ทำหน้าที่ในการเชื่อม น้ำเข้าไปในสบู่สำหรับอาบน้ำ
สบู่สำหรับอาบน้ำเนี่ยทุกคนก็เคยอาบน้ำอยู่นะครับ
ก็จะมีน้ำที่ลื่นๆเหนียวๆ ซึมเข้าไปในทุกอณูของสบูเลย มันก็จะทำให้สบู่นั้นติดเป็นก้อนเดียวกัน ก็กลายเป็นก้อนสบู่
การจะเป็นก้อนสบู่เนี้ยมันมีน้ำอยู่นะ
สมาธิก็จะเหมือนน้ำตัวนั้นนะ อุทะกัง น้ำที่มันเชื่อมเพื่อนๆก้อนเล็กจุลๆไว้ด้วยกัน พวกจุลเล็กๆทั้งหลายก็คือ สหชาตธรรม ให้มารวมเป็นก้อนเดียวกัน เนี้ยทำนองเนี้ยนะครับ
นี่ก็ สมาธิ นี้ก็อุปมาเหมือนน้ำที่ทำหน้าที่ในการรวมก้อนสบู่เข้ามา จริงๆก็ก้อนสบู่ก็คือ หลายๆส่วนก็คือจุลเล็กๆนั่นแหละนะ
แบบที่เราอาบแต่ละส่วนก็ออกมาเรื่อย ออกมาเรื่อย มันก็เลยเล็กลงเรื่อยๆใช่ไม๊
ก่อนมันจะมาเป็นก้อนๆเนี่ย น้ำมันจะมารวมกัน น้ำเป็นตัวเชื่อมนั่นเอง
น้ำที่เป็นตัวเชื่อมก็เป็นหน้าที่ของ สมาธิ
ทำหน้าที่ รวมสหชาตธรรม ครับ
อุปะสะมะ ปัจจุปัฎฐาโน
อาการปรากฏก็คือ ความสงบระงับ
อุปะสะมะ ก็คือสงบ นะครับ
อาการปรากฏของสมาธิก็คือ สงบ พวกเรารู้จักดี
วิเสสะโต สุขะปะทัฎฐาโน
โดยพิเศษแล้ว สมาธิ หรือ จิตเตกัคคตา มีสุขเป็นเหตุใกล้
มีสุขเป็นปทัฎฐานให้เกิดสมาธิ
สุขในที่นี้ก็คือ สุขเวทนา นั่นแหละ
มีสุขเวทนาเป็นเหตุใกล้7.08
364
เรื่องนี้ในตำราเขียนไว้ว่าอย่างไรด้วย
น226
-----------
เรื่องลักขณาทิจตุกะนี้หาคนสอนยากบังเอิญเจอสอนเรื่องเจตสิกแล้วอาจารย์ยกลักขณาทิจตุกะขึ้นมาตามคัมภีร์อภิธัมมาวตารบาลี จึงยกมาตั้งเป็นกระทู้ใหม่เพื่อสะดวกในการค้นคว้า
อาจารย์สุภีร์ ทุมทอง สอนเรื่องนี้หาฟังได้ที่นี่
------
ส่วนตำราวัดท่ามะโอ ใช้เล่มนี้ครับ
ตำราอภิธัมมาวตารวัดท่ามะโอ
น1
น2
น3
น46
น47