หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP)

* กระทู้นี้สามารถใช้งานได้เฉพาะผู้ที่มี Link นี้เท่านั้นค่ะ
กระทู้สนทนา
กองทุนหมู่บ้านละ 1 ล้าน , หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ และ ธนาคารประชาชน     
 
โครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ เดิม ชื่อ โครงการเศรษฐกิจชุมชน อุตสาหกรรม ชุมชน เป็นยุทธศาสตร์หนึ่งของ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8

 


เอกสารอ้างอิง
https://dl.parliament.go.th/handle/20.500.13072/367183
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 ถูกจัดทำขึ้นด้วย กระบวนทัศน์ใหม่ เพื่อเป็นเครื่องมือ ในการปฏิรูปการศึกษาอย่างบูรณาการ หรือ ปฏิรูปประเทศไทย ให้เป็น ประเทศพัฒนาแล้วใน 25 ปี 1995 - 2020
 
โดยการแก้ไขปัญหาของประเทศไทย ถึง โครงสร้าง ด้วย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  2540 หรือการปฏิรูปประเทศไทย เพื่อให้มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 8 ของโลก ในปี 2563/ 2020    ในที่สุดกระบวนการนี้ ดำเนินการไปได้ 11 ปี 4 รัฐบาล  1995 - 2006
โดยมียุทธศาสตร์ เศรษฐกิจชุมชน อุตสาหกรรมชุมชน  และ วิสาหกิจชุมชน หรือ SME  เป็นยุทธศาสตร์หนึ่ง

 
โครงการ สินค้าเศรษฐกิจชุมชน อุตสาหกรรมชุมชน และ วิสาหกิจชุมชน เพื่อส่งเสริมสนับสนุนกระบวนการพัฒนาท้องถิ่น สร้างชุมชนเข้มแข็งพึ่งตนเองได้ ให้ประชาชน มีส่วนร่วม ในการสร้างงาน สร้างรายได้ ด้วยการนำทรัพยากร ภูมิปัญญาท้องถิ่น มาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์และบริการ มีคุณภาพ มีมูลค่าเพิ่ม สอดคล้องกับวัฒนธรรมหรือ วิถีชีวิตของท้องถิ่น เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวในประเทศ และ ส่งออกภูมิปัญญาไทย ในฐานะทูตทางวัฒนธรรม เช่นเดียวกับ อาหารไทย เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว

 
โดยรัฐบาลให้การสนับสนุนอย่างน้อย 6 ประการคือ ทุน ( โครงการเงินทุนเศรษฐกิจชุมชน โครงการเงินกู้เศรษฐกิจชุมชน กองทุนหมู่บ้านละ 1 ล้าน โครงการธนาคารประชาชน โดยการสนับสนุนของธนาคารออมสิน) การตลาด การจัดการ แรงงาน ข้อมูล และ วัตถุดิบ 
 
1)  รัฐบาลนายกรัฐมนตรีบรรหาร 
 
จัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 เป็นแผนปฏิรูปความคิดและคุณค่าใหม่ของสังคมไทย ที่เน้นให้ “คนเป็น ศูนย์กลางของการพัฒนา” และใช้เศรษฐกิจเป็นเพียงเครื่องมือช่วยพัฒนาให้คนมีความสุขและมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น พร้อมทั้งปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนามาเป็นการพัฒนาแบบองค์รวม มีกระบวนการที่จะเชื่อมโยง มิติต่างๆ ของการพัฒนา ตลอดจนเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายร่วมกันจัดทำแผน เพื่อให้ผู้จัดทำแผนและผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่เป็นบุคคลกลุ่มเดียวกัน  เป้าหมายของ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 ในยุทธศาสตร์เศรษฐกิจชุมชน คือ


แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=3783
 
 
2) รัฐบาลต้มยำกุ้ง
 
แผนพัฒนาฯฉบับที่ 8 นับเป็นจุดเริ่มต้นของการขับเคลื่อนพลังทางสังคมให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างกว้างใหญ่ และนำไปสู่การสร้างแนวคิดพื้นฐานในการจัดทำรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยเพื่อปฏิรูปประเทศไทย  2540



https://dl.parliament.go.th/handle/20.500.13072/367183
 
 
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 เป็นแผนปฏิรูปความคิดและคุณค่าใหม่ของสังคมไทย ที่เน้นให้ “คนเป็น ศูนย์กลางของการพัฒนา” และใช้เศรษฐกิจเป็นเพียงเครื่องมือช่วยพัฒนาให้คนมีความสุขและมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น พร้อมทั้งปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนามาเป็นการพัฒนาแบบองค์รวม มีกระบวนการที่จะเชื่อมโยง มิติต่างๆ ของการพัฒนา ตลอดจนเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายร่วมกันจัดทำแผนเพื่อให้ผู้จัดทำแผนและผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่เป็นบุคคลกลุ่มเดียวกัน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8
https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=3783
แผนพัฒนาฯฉบับที่ 8 นับเป็นจุดเริ่มต้นของการขับเคลื่อนพลังทางสังคมให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างกว้างใหญ่ และนำไปสู่การสร้างแนวคิดพื้นฐานในการจัดทำรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยเพื่อปฏิรูปประเทศไทย  2540
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540 
https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/A/055/1.PDF



รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540 
https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/A/055/1.PDF


 
3) รัฐบาลนายกรัฐมนตรีชวน 2
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดำเนินงานโครงการเศรษฐกิจชุมชน 2541

 
http://krajae.go.th/attachments/810_%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%9A%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2-%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%99(%E0%B8%892).PDF
 
 
ระเบียกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดำเนินงานโครงการเศรษฐกิจชุมชน 2541 https://www.dla.go.th/upload/templateWebMenu/attachFile/2017/10/1509077174670.PDF 
 
 

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดำเนินงานโครงการเศรษฐกิจชุมชน 2543 (ฉบับที่ 2)
https://www.dla.go.th/upload/templateWebMenu/attachFile/2017/10/1509077213929.pdf
 
 
พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2543
https://web.codi.or.th/about-us/purposeandauthority/

 
4) รัฐบาลพรรคไทยรักไทย

https://www.zipeventapp.com/blog/2021/10/07/otop-2021/   
 
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม บทบัญญัติ แห่ง รัฐธรรมนูญราชอาณาจักรไทย 2540  มาตรา 89  


สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจ และ สังคม แห่งชาติ คัดค้าน โครงการ  หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ , กองทุนหมู่บ้านละ 1 ล้าน และ ธนาคารประชาชน  ของสำนักนายกรัฐมนตรี  รัฐบาล พรรคไทยรักไทย เนื่องจาก ซึ้าซ้อนกับ ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจชุมชน ของ  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 ซึ่งดำเนินงานโดย กระทรวงมหาดไทย ต่อเนื่อง มา 3 รัฐบาลแล้ว    
 
 
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ แห่งชาติ 2544
http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTEROPM/DRAWER01/GENERAL/DATA0004/00004314.PDF
 
หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์    2544  ซ้ำซ้อนกับ  โครงการเศรษฐกิจชุมชนปี 2541   ซึ่งดำเนินการมา 3 รัฐบาล  จึงออกระเบียบได้ โดยประชาชนมีส่วนร่วม

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ แห่งชาติ 2545
https://www.opm.go.th/opmportal/multimedia/adisorlo/website/otop2.pdf
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดตั้ง คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน และ ชุมชนเมือง 2544 ฉบับที่ 

http://www.villagefund.or.th/uploads/gallery/image_big_5a83c1ae3cdad.pdf


 
กองทุนหมู่บ้านละ 1 ล้านบาท   ซ้ำซ้อนกับ  สัญญายืมเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน  ซึ่งดำเนินการต่อเนื่องมา 3 รัฐบาลจึงออกระเบียบ ได้โดยประชาชนมีส่วนร่วม
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดตั้ง คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน และ ชุมชนเมือง 2547 ฉบับที่ 6
https://dl.parliament.go.th/bitstream/handle/20.500.13072/98443/SOP-DIP_P_1121878_0001.pdf?sequence=1
 
โครงการธนาคารประชาชน ของ รัฐบาลพรรคไทยรักไทย ซ้ำซ้อน กับ  โครงการเงินกู้ ของ  ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจชุมชน
 
เมื่อเปลี่ยนชื่อ เปลี่ยนระเบียบ ใหม่ โดยคนๆเดียว     ต่างจาก  แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8  ซึ่งเป็นแผนปฏิรูปความคิดและคุณค่าใหม่ของสังคมไทย ที่เน้นให้
 
“คนเป็น ศูนย์กลางของการพัฒนา” และใช้เศรษฐกิจเป็นเพียงเครื่องมือช่วยพัฒนาให้คนมีความสุขและมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น พร้อมทั้งปรับเปลี่ยนวิธีการ
 
พัฒนามาเป็นการพัฒนาแบบองค์รวม มีกระบวนการที่จะเชื่อมโยง มิติต่างๆ ของการพัฒนา ตลอดจนเปิดโอกาสให้ทุกฝ่าย ร่วมกันจัดทำแผน
 
 
 จุดเริ่มต้นของปัญหา หนี้ครัวเรือนไทย 
ผลคือ ปี 2546 เกิดหนี้ครัวเรือน สูงเป็นประวัติการณ์ิ    ตามตาราง   สูงกว่าหนี้ครัวเรือนของรัฐบาลต้มยำกุ้ง ปี  2540  และยุทธศาสตร์เศรษฐกิจชุมชน  ซึ่ง



 

หลงทางในครั้งนั้น   จึงไม่สามารถนำพาประเทศไทย  เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ในปี 2563/2020  โดยมีเศรษฐกิจขนาดใหญ่เป็นอันดับ 8 ของโลกได้   
 
ตามเป้าหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8

ปี 2566 ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์

กระทรวงอุตสาหกรรมเดินหน้า ใช้ “หัว” และ “ใจ” ปั้นอุตสาหกรรมคู่ชุมชน ให้สมดุลและยั่งยืน
กระทรวงอุตสาหกรรม พร้อมสร้างความเปลี่ยนแปลงให้กับภาคอุตสาหกรรมไทย เดินหน้าทำงานภายใต้แนวคิด “MIND: ปรับอุตสาหกรรมเข้าสู่วิถีใหม่ ให้ความสำคัญในการยกระดับทุกองค์ประกอบของภาคอุตสาหกรรม ควบคู่กับการสร้างความเข้มแข็งและกระจายรายได้สู่ชุมชน ด้วย “หัว” และ “ใจ” ของคนกระทรวงอุตสาหกรรม
สร้างภาพลักษณ์และคุณค่าใหม่ของ อุตสาหกรรม ในหลักการของ “อุตสาหกรรมดี ชุมชนดี หน่วยงานดี” ตามแนวอุตสาหกรรมวิถีใหม่ เพื่อมุ่งสู่ความสำเร็จ 4 มิติและให้รางวัลกับคนทำดี ได้แก่
มิติที่ 1 ความสำเร็จทางธุรกิจ
มิติที่ 2 การดูแลสังคมโดยรอบโรงงานอุตสาหกรรม
มิติที่ 3 การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมที่ตอบโจทย์ไทยและประชาคมโลก
มิติที่ 4 การกระจายรายได้ให้กับประชาชนและชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
การทำงานดีด้วย 'หัว' และ 'ใจ' ของคนกระทรวงอุตสาหกรรม จะผลักดันนโยบายและการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้านและบูรณาการ เพื่อขับเคลื่อน กำกับดูแล และส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมให้มีการปรับตัวเข้าสู่วิถีใหม่อย่างเต็มประสิทธิภาพต่อไป
#กระทรวงอุตสาหกรรม
#MIND
แก้ไขข้อความเมื่อ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่