https://pantip.com/topic/39769887
กะทู้แรก ได้กล่าวถึง ความเป็นมาของชาวยิว และดินแดนปาเลสไตน์ และสาเหตุที่คนยิวต้องสร้างรัฐยิว ตลอดจนกำเนินองค์การไซออนิสต์ ที่มีบทบาทสำคัญในการสร้างที่อยู่รัฐอิสราเอล และการเริ่มต้นอพยพของคนยิว
ตอนที่สอง จะกล่าวถึง การอพยพของคนยิว เข้าสู่ดินแดนปาเลสไตน์ และปัญหาต่างในปาเลสไตน์ ที่อังกฤษและชาติมหาอำนาจเช่นสหรัฐ ตลอดจนยูเอ็นเข้ามาเกี่ยวข้อง
อาลียาห์ ที่สอง

. ถ้าชีวิตและความคิดของแฮร์ทเซิล เป็นเหตุการณ์ก่อตั้งรัฐ ครั้งแรก ช่วยให้ลักธิไซออนิสต์ในทางการเมืองอยู่รอด
ความสำเร็จในการจัดตั้งรัฐยิว จะไม่สำเร็จ ถ้าไม่มีการอพยพขนานใหญ่ของคนยิวจากรัสเซีย หลังจากการปฏิวัติที่ไร้ผลในปี 1905
. แต่กระนั้น ช่วงนี้ คนส่วนใหญ่( มิใช่เฉพาะคนยิว) ตัดสินใจออกไปแสวงหาเสรีภาพ และโอกาสในแผ่นดินทองโพ้นทะเล ( Yid- dish “แผ่นดินทอง”) ประเทศที่คนส่วนใหญ่เลือก คือ สหรัฐอเมริกา
. แต่ชายหญิงซึ่งยึดมั่นอุดมการณ์ที่ค่อนข้างเพ้อฝัน เช่นคนยิว เลือกไปปาเลสไตน์ ผู้ตั้งถิ่นฐานชาวยิวที่มีศรัทธาแรงกล้าและอุทิศตัวเหล่านี้ เรียกว่า อาลียาที่สอง (ปี1905-1914) ช่วยสร้างสถาบันในช่วงเริ่มต้น ของชุมชนคนยิว ในปาเลสไตน์ : ได้แก่ โรงเรียน, นสพ., โรงภาพยนต์,สโมสรกีฬา, สหภาพการค้า, โรงงานที่คนงานเป็นเจ้าของ, และพรรคการเมือง
. เนื่องจากคนยิวที่เข้าไปในปาเลสไตน์ พูดภาษาต่างๆ กัน ตามประเทศ ที่คนยิวมา การขึ้นสู่อำนาจ (หรือolim) ทำให้เกิดความพยายามต่อเนื่อง เพื่อฟื้นฟูภาษาฮีบรู ใช้เป็นภาษาพูดและภาษาเขียน ไม่นาน เด็กยิว และผู้ใหญ่หนุ่มสาว ในปาเลสไตน์ พูดภาษาฮีบรู เป็นภาษาแรก
. ความสำเร็จมากที่สุด เป็นประสบการณ์ที่มีชื่อเสียง ในการตั้งถิ่นฐานทำเกษตรกรรม เรียกว่าคิบบูช (ฟาร์มรวม) ที่บ้าน สัตว์ และเครื่องมือทำฟาร์ม เป็นของกลุ่ม หรือเป็นของส่วนรวม การตัดสินใจทำในระบอบประชาธิปไตย และงานทุกชนิด (รวมทั้งทำอาหาร,ทำความสะอาด, การเลี้ยงเด็ก) สมาชิกเข้ามาร่วม ไม่ใช่ลักธิคิบบุช ทุกแห่งประสบความสำเร็จ แต่ที่อยู่รอดที่สุด เพราะสมาชิกคิบบุช อุทิศตน ให้กับการสร้างที่อยู่ของประชาชาติยิว และการไถ่คืนแผ่นดินด้วยแรงงานของชาวคิบบุช

. แม้การขึ้นสูงอำนาจ(olim) ส่วนใหญ่ เกิดขึ้นในเมือง รวมทั้งสิ่งที่กลายเป็นเมืองของชาวยิวทุกคน ครั้งแรกในปวศ.ยุคใหม่
เมืองเทล อาวิช เป็นคิบบุชตัวอย่าง จิตวิญญาณบุกเบิกของอิสราเอล: ประกอบด้วย อุดมคติ, การพึ่งพาตนเอง, และที่คนนอกดูหมิ่นและรังเกียจ ก็คือ ชาวคิบบุช ทำงานหนัก เป็นเวลาหลายชม. เพื่อประโยชน์ทางวัตถุอย่างน่าสงสาร
. แต่คนยิว ติดสินใจที่จะพัฒนาแผ่นดินของพวกยิว (ที่ดินซื้อโดยใช้เงินกองทุนในราคาสูงลิ่ว คนอาหรับที่ไปอยู่ที่อื่น และเจ้าของที่ดินชาวเติร์ก) คนงานยิวใช้แรงงานของตนเอง โดยไม่หันไปพึ่งพา ชาวนาอาหรับที่ค่าแรงงานถูก เพราะผู้บุกเบิกที่เป็นอาลียาห์ที่สอง มีความกล้าหาญ เต็มไปด้วยความคิดริเริ่มและสามารถแก้ปัญหาได้ดี เป็นผู้ก่อตั้งของสิ่งที่กลายเป็นรัฐอิสราเอล
. เราอาจลืมว่า การขึ้นสูงอำนาจ ในไม่ช้าก็สูญเสียความกระตือรือร้น จากการเผชิญกับความเสี่ยงและสูญเปล่านี้ ฤดูร้อนที่อากาศร้อน ฤดูหนาวลมแรงและฝนตก, หนองบึงที่มีเชื้อมาเลเรีย, เนินเขาเต็มไปด้วยหิน, ทะเลทรายที่มีน้ำมัน, ทำให้ ความร้อนรน ของผู้บุกเบิกหนุ่มสาวจำนวนมากมืดมัว
. เผ่าอาหรับเร่ร่อน ชาวนาปล้นสะดม คิบบุช ลูกพี่ลูกน้องของชาวคิบบุชในจ๊าฟฟา และเยรูซาเล็มจับตาดูลักธิไซออนนิสต์ ด้วยความสงสัย และมีความรู้สึกชาตินิยม เข้าใจได้ว่า คนอาหรับ คัดค้านแผนการตั้งอาณานิคม ที่ดูเหมือนจะมายึดทรัพย์จากคนอาหรับ และลดสถานะลงเป็นคนชั้นสอง หรือแบ่งแยกชีเรีย คนอาหรับกำลังประท้วงในสื่อของอาหรับเรียบร้อยและในสภาออตโตมาน กับการตั้งถิ่นฐานต่างชาติและ แผนการของพวกยิว ที่จะตั้งรัฐยิวในปาเลสไตน์
. รัฐบาลออตโตมาน, ทั้งก่อนและหลังการปฏิวัติยังเติร์ก ปี 1908 ขัดขวาง การตั้งนิคมขาวยิว เนื่องจากกลัว ว่าจะเกิดปัญหาระดับชาติอื่น กับคนที่อยู่ในบันข่าน และดินแดนอาหรับ จนถึงการแยกจักรวรรดิ์ออกเป็นส่วนๆ ไม่มีรัฐบาลยุโรปชาติใด กล้าเสี่ยงคัดค้าน อิสตันบูล โดยการสนับสนุน การตั้งถิ่นฐานชาวยิวในปาเลส
. อังกฤษและปัญหาปาเลสไตน์
. สงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นเหตุการณ์ ที่สาม ที่ช่วยให้ขบวนการไซออนนิสต์ทางการเมือง ไม่สูญสลาย คู่สงครามทั้งสองฝ่ายต้องการให้ยิวหนุนหลัง ปี 1914 ศูนย์กลางการเคลื่อนไหวใหญ่ของขบวนการไซออนิสต์ อยู่ที่กรุงเบอร์ลิน คนยิวที่เป็นตัวเชื่อมทางการเมือง ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ (และหนุนหลัง) ประเทศที่เป็นศูนย์กลางอำนาจ: ได้แก่เยอรมัน ออสเตรีย-ฮังการี, และจักรวรรดิออตโตมาน
. จนไปถึงปี 1917 เมื่อสหรัฐเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่ 1 สหรัฐอยู่ข้างพันธมิตร, คนยิวอเมริกัน เข้าข้างประเทศที่เป็นศูนย์กลางอำนาจ เพราะคนยิวอเมริกา เกลียดผู้ปกครองราชวงศ์ซาร์แห่งรัสเซีย ประเทศรัสเซียเป็นประเทศที่คนยิวจำนวนมาก พยายามหนีออกมา เมื่อโค่นล้มซาร์ ราวต้นปี 1917 ได้แล้ว รัสเซียหันมาสนับสนุนขบวนการไซออนิสต์ แต่ตอนนี้ มีประเด็นใหม่ที่ต้องจัดการ (ที่คนยิวรัสเซียส่วนใหญ่ ก็ชอบด้วย) คือทำยังไง ให้สงครามดำเนินต่อไป ปีนั้น เป็นปีสำคัญในสงครามโลกครั้งที่ 1 เยอรมัน ต้องการ ให้ยิวสนับสนุนด้วย แต่เยอรมันไม่สามารถสนับสนุนลักธิไออนนิสต์ เนื่องจากเยอรมัน มีความสัมพันธ์กับอ๊อตโตมาน ที่เป็นเจ้าของปาเลสไตน์ ตอนนั้น นี่คือเหตุผลที่อังกฤษก้าวเข้ามา
. ปฏิญญาบัลโฟร์
. แม้ว่าอังกฤษจะมีความสัมพันธ์กับคนยิวน้อย อังกฤษจะพูดจะทำอะไร กับไซออนิสต์ ก็ดูจะได้เต็มที่ ที่อังกฤษมีไซออนนิสต์ เอาจริงเอาจังคนหนึ่ง ชื่อเชม ไวท์แมนน์ เป็นนักเคมี มีชื่อเสียงตอนเริ่มสงครามจากการทำสารติดไฟได้ ( ก่อนนี้ นำเข้าจากเยอรมัน) สารนี้ ใช้ทำระเบิด การค้นพบของไวท์แมนน์ ทำให้เขาเป็นนักเขียนชั้นนำ และก้าวสู่ตำแหน่งประธานาธิบดีคนแรกของอิสราเอล นายกรัฐมนตรี ลอยด์ จอร์จ หันมาสนับสนุนไซออนิสต์จากการอ่านไบเบิล ไวท์แมนน์ ยังอยู่เบื้องหลัง รมต ต่างประเทศ ลอร์ดบัลโฟร์ บัลโฟร์ แจ้งไซออนิสต์อังกฤษ ทราบถึงการตัดสินใจของครม. เป็นที่มาของจดหมายที่เรียกว่า ปฏิญญาบัลโฟร์ จดหมายกล่าวว่า:
. รัฐบาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเห็นชอบกับการจัดตั้งในปาเลสไตน์ เป็นที่อยู่ประชาชาติชาวยิว และจะใช้ความพยายามที่ดีที่สุดไซออนิสต์เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์นี้ เป็นที่เข้าใจกันอย่างชัดเจนว่าจะไม่ทำอะไร ที่อาจก่อให้เกิด อัคติเกี่ยวกับสิทธิทางศาสนาและพลเรือน ของชุมชนที่ไม่ใช่ยิวที่ยังอยู่ในปาเลสไตน์ หรือสิทธิและสถานะทางการเมือง ที่คนยิวจากประเทศอื่นๆจะไปร่วมด้วย
. เนื่องจากปฏิญญา นี้ ไซออนิสต์มองว่า เป็นกฎบัตรของไซออนิสต์ทางการเมือง ที่ไซออนิสต์ควรตรวจดูอย่างละเอียด ปฏิญญา นี้ไม่ได้กล่าวว่าอังกฤษจะเปลี่ยนปาเลสไตน์ เป็นรัฐยิว ความจริง ยังไม่มีการระบุเขตแดนชัดเจนแน่นอน ซึ่งอังกฤษต้องไปเจรจากับเติร์กอีกที รัฐบาลอังกฤษสัญญาเพียงว่าจะช่วยสร้างที่อยู่ของประชาชาติยิว ในปาเลสไตน์ นอกจากนั้น ยังให้สัญญา ไม่ทำอันตราย สิทธิทางศาสนาและพลเรือน ของคนที่มิใช่ยิว ของปาเลสไตน์
. กล่าวคือ 93 เปอร์เซ็นต์ ของคนที่อยู่ในปาเลสไตน์ เป็นมุสลิมและคต. พูดภาษาอาราบิคและกลัวจะถูกตัดขาดจากประเทศ อาหรับอื่น และอยู่ในฐานะประชากรชั้นสอง ในรัฐของประชาชาติยิว ทั้งอังกฤษและขบวนการไซออนิสต์ น่าจะมีหนทางทำให้คนพวกนี้สงบและระงับความกลัวของคนเหล่านี้ ตลอดจนประกันสิทธิของพวกนี้ แต่อังกฤษและไซออนิสต์ไม่เคยทำ
. กล่าวได้ว่า อาหรับมองว่าการต่อสู้แย่งชิงปาเลสไตน์ มีความสำคัญ แม้กระทั่งตอนนี้ ประเด็นร้อนแรงที่สุด ของความขัดแย้ง อาหรับ-อิสราเอล คือการให้คำจำกัดความสิทธิตามกฎหมาย ของชาวอาหรับปาเลสไตน์ โดยสรุปปฏิญญาบัลโฟร์ ยังสนใจเรื่อง ความกลัวของชาวยิว ที่เลือกอยู่นอกปาเลสไตน์ ทั้งไม่อยากเสียสิทธิและสถานะ ที่ไซออนิสต์ได้มา ตอนที่อยู่ในประเทศที่มีระบอบปชต.เสรีนิยม เช่นอังกฤษ, ฝรั่งเศส, และสหรัฐ จนถึงการขึ้นมาของฮิตเลอร์ ที่ไซออนิสต์ที่เป็นขาวยิวกลุ่มน้อยเล็กๆ นี้ อยู่เบื้องหลังฮิตเลอร์
. ปฏิญญา บัลโฟร ดูเหมือนจะรับประกันว่า ว่ารัฐบาลอังกฤษ จะควบคุมปาเลสไตน์ หลังสงคราม พร้อมกับคำมั่นว่า จะสร้างที่อยู่ของประชาชาติยิวที่นั่น ให้เรามาดูว่าอะไรที่เกิดขึ้นจริงๆ
การต่อสู้เพื่อแย่งชิงดินแดนปาเลสไตน์ (ตอนที่2)
กะทู้แรก ได้กล่าวถึง ความเป็นมาของชาวยิว และดินแดนปาเลสไตน์ และสาเหตุที่คนยิวต้องสร้างรัฐยิว ตลอดจนกำเนินองค์การไซออนิสต์ ที่มีบทบาทสำคัญในการสร้างที่อยู่รัฐอิสราเอล และการเริ่มต้นอพยพของคนยิว
ตอนที่สอง จะกล่าวถึง การอพยพของคนยิว เข้าสู่ดินแดนปาเลสไตน์ และปัญหาต่างในปาเลสไตน์ ที่อังกฤษและชาติมหาอำนาจเช่นสหรัฐ ตลอดจนยูเอ็นเข้ามาเกี่ยวข้อง
อาลียาห์ ที่สอง
. ถ้าชีวิตและความคิดของแฮร์ทเซิล เป็นเหตุการณ์ก่อตั้งรัฐ ครั้งแรก ช่วยให้ลักธิไซออนิสต์ในทางการเมืองอยู่รอด
ความสำเร็จในการจัดตั้งรัฐยิว จะไม่สำเร็จ ถ้าไม่มีการอพยพขนานใหญ่ของคนยิวจากรัสเซีย หลังจากการปฏิวัติที่ไร้ผลในปี 1905
. แต่กระนั้น ช่วงนี้ คนส่วนใหญ่( มิใช่เฉพาะคนยิว) ตัดสินใจออกไปแสวงหาเสรีภาพ และโอกาสในแผ่นดินทองโพ้นทะเล ( Yid- dish “แผ่นดินทอง”) ประเทศที่คนส่วนใหญ่เลือก คือ สหรัฐอเมริกา
. แต่ชายหญิงซึ่งยึดมั่นอุดมการณ์ที่ค่อนข้างเพ้อฝัน เช่นคนยิว เลือกไปปาเลสไตน์ ผู้ตั้งถิ่นฐานชาวยิวที่มีศรัทธาแรงกล้าและอุทิศตัวเหล่านี้ เรียกว่า อาลียาที่สอง (ปี1905-1914) ช่วยสร้างสถาบันในช่วงเริ่มต้น ของชุมชนคนยิว ในปาเลสไตน์ : ได้แก่ โรงเรียน, นสพ., โรงภาพยนต์,สโมสรกีฬา, สหภาพการค้า, โรงงานที่คนงานเป็นเจ้าของ, และพรรคการเมือง
. เนื่องจากคนยิวที่เข้าไปในปาเลสไตน์ พูดภาษาต่างๆ กัน ตามประเทศ ที่คนยิวมา การขึ้นสู่อำนาจ (หรือolim) ทำให้เกิดความพยายามต่อเนื่อง เพื่อฟื้นฟูภาษาฮีบรู ใช้เป็นภาษาพูดและภาษาเขียน ไม่นาน เด็กยิว และผู้ใหญ่หนุ่มสาว ในปาเลสไตน์ พูดภาษาฮีบรู เป็นภาษาแรก
. ความสำเร็จมากที่สุด เป็นประสบการณ์ที่มีชื่อเสียง ในการตั้งถิ่นฐานทำเกษตรกรรม เรียกว่าคิบบูช (ฟาร์มรวม) ที่บ้าน สัตว์ และเครื่องมือทำฟาร์ม เป็นของกลุ่ม หรือเป็นของส่วนรวม การตัดสินใจทำในระบอบประชาธิปไตย และงานทุกชนิด (รวมทั้งทำอาหาร,ทำความสะอาด, การเลี้ยงเด็ก) สมาชิกเข้ามาร่วม ไม่ใช่ลักธิคิบบุช ทุกแห่งประสบความสำเร็จ แต่ที่อยู่รอดที่สุด เพราะสมาชิกคิบบุช อุทิศตน ให้กับการสร้างที่อยู่ของประชาชาติยิว และการไถ่คืนแผ่นดินด้วยแรงงานของชาวคิบบุช
. แม้การขึ้นสูงอำนาจ(olim) ส่วนใหญ่ เกิดขึ้นในเมือง รวมทั้งสิ่งที่กลายเป็นเมืองของชาวยิวทุกคน ครั้งแรกในปวศ.ยุคใหม่
เมืองเทล อาวิช เป็นคิบบุชตัวอย่าง จิตวิญญาณบุกเบิกของอิสราเอล: ประกอบด้วย อุดมคติ, การพึ่งพาตนเอง, และที่คนนอกดูหมิ่นและรังเกียจ ก็คือ ชาวคิบบุช ทำงานหนัก เป็นเวลาหลายชม. เพื่อประโยชน์ทางวัตถุอย่างน่าสงสาร
. แต่คนยิว ติดสินใจที่จะพัฒนาแผ่นดินของพวกยิว (ที่ดินซื้อโดยใช้เงินกองทุนในราคาสูงลิ่ว คนอาหรับที่ไปอยู่ที่อื่น และเจ้าของที่ดินชาวเติร์ก) คนงานยิวใช้แรงงานของตนเอง โดยไม่หันไปพึ่งพา ชาวนาอาหรับที่ค่าแรงงานถูก เพราะผู้บุกเบิกที่เป็นอาลียาห์ที่สอง มีความกล้าหาญ เต็มไปด้วยความคิดริเริ่มและสามารถแก้ปัญหาได้ดี เป็นผู้ก่อตั้งของสิ่งที่กลายเป็นรัฐอิสราเอล
. เราอาจลืมว่า การขึ้นสูงอำนาจ ในไม่ช้าก็สูญเสียความกระตือรือร้น จากการเผชิญกับความเสี่ยงและสูญเปล่านี้ ฤดูร้อนที่อากาศร้อน ฤดูหนาวลมแรงและฝนตก, หนองบึงที่มีเชื้อมาเลเรีย, เนินเขาเต็มไปด้วยหิน, ทะเลทรายที่มีน้ำมัน, ทำให้ ความร้อนรน ของผู้บุกเบิกหนุ่มสาวจำนวนมากมืดมัว
. เผ่าอาหรับเร่ร่อน ชาวนาปล้นสะดม คิบบุช ลูกพี่ลูกน้องของชาวคิบบุชในจ๊าฟฟา และเยรูซาเล็มจับตาดูลักธิไซออนนิสต์ ด้วยความสงสัย และมีความรู้สึกชาตินิยม เข้าใจได้ว่า คนอาหรับ คัดค้านแผนการตั้งอาณานิคม ที่ดูเหมือนจะมายึดทรัพย์จากคนอาหรับ และลดสถานะลงเป็นคนชั้นสอง หรือแบ่งแยกชีเรีย คนอาหรับกำลังประท้วงในสื่อของอาหรับเรียบร้อยและในสภาออตโตมาน กับการตั้งถิ่นฐานต่างชาติและ แผนการของพวกยิว ที่จะตั้งรัฐยิวในปาเลสไตน์
. รัฐบาลออตโตมาน, ทั้งก่อนและหลังการปฏิวัติยังเติร์ก ปี 1908 ขัดขวาง การตั้งนิคมขาวยิว เนื่องจากกลัว ว่าจะเกิดปัญหาระดับชาติอื่น กับคนที่อยู่ในบันข่าน และดินแดนอาหรับ จนถึงการแยกจักรวรรดิ์ออกเป็นส่วนๆ ไม่มีรัฐบาลยุโรปชาติใด กล้าเสี่ยงคัดค้าน อิสตันบูล โดยการสนับสนุน การตั้งถิ่นฐานชาวยิวในปาเลส
. อังกฤษและปัญหาปาเลสไตน์
. สงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นเหตุการณ์ ที่สาม ที่ช่วยให้ขบวนการไซออนนิสต์ทางการเมือง ไม่สูญสลาย คู่สงครามทั้งสองฝ่ายต้องการให้ยิวหนุนหลัง ปี 1914 ศูนย์กลางการเคลื่อนไหวใหญ่ของขบวนการไซออนิสต์ อยู่ที่กรุงเบอร์ลิน คนยิวที่เป็นตัวเชื่อมทางการเมือง ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ (และหนุนหลัง) ประเทศที่เป็นศูนย์กลางอำนาจ: ได้แก่เยอรมัน ออสเตรีย-ฮังการี, และจักรวรรดิออตโตมาน
. จนไปถึงปี 1917 เมื่อสหรัฐเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่ 1 สหรัฐอยู่ข้างพันธมิตร, คนยิวอเมริกัน เข้าข้างประเทศที่เป็นศูนย์กลางอำนาจ เพราะคนยิวอเมริกา เกลียดผู้ปกครองราชวงศ์ซาร์แห่งรัสเซีย ประเทศรัสเซียเป็นประเทศที่คนยิวจำนวนมาก พยายามหนีออกมา เมื่อโค่นล้มซาร์ ราวต้นปี 1917 ได้แล้ว รัสเซียหันมาสนับสนุนขบวนการไซออนิสต์ แต่ตอนนี้ มีประเด็นใหม่ที่ต้องจัดการ (ที่คนยิวรัสเซียส่วนใหญ่ ก็ชอบด้วย) คือทำยังไง ให้สงครามดำเนินต่อไป ปีนั้น เป็นปีสำคัญในสงครามโลกครั้งที่ 1 เยอรมัน ต้องการ ให้ยิวสนับสนุนด้วย แต่เยอรมันไม่สามารถสนับสนุนลักธิไออนนิสต์ เนื่องจากเยอรมัน มีความสัมพันธ์กับอ๊อตโตมาน ที่เป็นเจ้าของปาเลสไตน์ ตอนนั้น นี่คือเหตุผลที่อังกฤษก้าวเข้ามา
. ปฏิญญาบัลโฟร์
. แม้ว่าอังกฤษจะมีความสัมพันธ์กับคนยิวน้อย อังกฤษจะพูดจะทำอะไร กับไซออนิสต์ ก็ดูจะได้เต็มที่ ที่อังกฤษมีไซออนนิสต์ เอาจริงเอาจังคนหนึ่ง ชื่อเชม ไวท์แมนน์ เป็นนักเคมี มีชื่อเสียงตอนเริ่มสงครามจากการทำสารติดไฟได้ ( ก่อนนี้ นำเข้าจากเยอรมัน) สารนี้ ใช้ทำระเบิด การค้นพบของไวท์แมนน์ ทำให้เขาเป็นนักเขียนชั้นนำ และก้าวสู่ตำแหน่งประธานาธิบดีคนแรกของอิสราเอล นายกรัฐมนตรี ลอยด์ จอร์จ หันมาสนับสนุนไซออนิสต์จากการอ่านไบเบิล ไวท์แมนน์ ยังอยู่เบื้องหลัง รมต ต่างประเทศ ลอร์ดบัลโฟร์ บัลโฟร์ แจ้งไซออนิสต์อังกฤษ ทราบถึงการตัดสินใจของครม. เป็นที่มาของจดหมายที่เรียกว่า ปฏิญญาบัลโฟร์ จดหมายกล่าวว่า:
. รัฐบาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเห็นชอบกับการจัดตั้งในปาเลสไตน์ เป็นที่อยู่ประชาชาติชาวยิว และจะใช้ความพยายามที่ดีที่สุดไซออนิสต์เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์นี้ เป็นที่เข้าใจกันอย่างชัดเจนว่าจะไม่ทำอะไร ที่อาจก่อให้เกิด อัคติเกี่ยวกับสิทธิทางศาสนาและพลเรือน ของชุมชนที่ไม่ใช่ยิวที่ยังอยู่ในปาเลสไตน์ หรือสิทธิและสถานะทางการเมือง ที่คนยิวจากประเทศอื่นๆจะไปร่วมด้วย
. เนื่องจากปฏิญญา นี้ ไซออนิสต์มองว่า เป็นกฎบัตรของไซออนิสต์ทางการเมือง ที่ไซออนิสต์ควรตรวจดูอย่างละเอียด ปฏิญญา นี้ไม่ได้กล่าวว่าอังกฤษจะเปลี่ยนปาเลสไตน์ เป็นรัฐยิว ความจริง ยังไม่มีการระบุเขตแดนชัดเจนแน่นอน ซึ่งอังกฤษต้องไปเจรจากับเติร์กอีกที รัฐบาลอังกฤษสัญญาเพียงว่าจะช่วยสร้างที่อยู่ของประชาชาติยิว ในปาเลสไตน์ นอกจากนั้น ยังให้สัญญา ไม่ทำอันตราย สิทธิทางศาสนาและพลเรือน ของคนที่มิใช่ยิว ของปาเลสไตน์
. กล่าวคือ 93 เปอร์เซ็นต์ ของคนที่อยู่ในปาเลสไตน์ เป็นมุสลิมและคต. พูดภาษาอาราบิคและกลัวจะถูกตัดขาดจากประเทศ อาหรับอื่น และอยู่ในฐานะประชากรชั้นสอง ในรัฐของประชาชาติยิว ทั้งอังกฤษและขบวนการไซออนิสต์ น่าจะมีหนทางทำให้คนพวกนี้สงบและระงับความกลัวของคนเหล่านี้ ตลอดจนประกันสิทธิของพวกนี้ แต่อังกฤษและไซออนิสต์ไม่เคยทำ
. กล่าวได้ว่า อาหรับมองว่าการต่อสู้แย่งชิงปาเลสไตน์ มีความสำคัญ แม้กระทั่งตอนนี้ ประเด็นร้อนแรงที่สุด ของความขัดแย้ง อาหรับ-อิสราเอล คือการให้คำจำกัดความสิทธิตามกฎหมาย ของชาวอาหรับปาเลสไตน์ โดยสรุปปฏิญญาบัลโฟร์ ยังสนใจเรื่อง ความกลัวของชาวยิว ที่เลือกอยู่นอกปาเลสไตน์ ทั้งไม่อยากเสียสิทธิและสถานะ ที่ไซออนิสต์ได้มา ตอนที่อยู่ในประเทศที่มีระบอบปชต.เสรีนิยม เช่นอังกฤษ, ฝรั่งเศส, และสหรัฐ จนถึงการขึ้นมาของฮิตเลอร์ ที่ไซออนิสต์ที่เป็นขาวยิวกลุ่มน้อยเล็กๆ นี้ อยู่เบื้องหลังฮิตเลอร์
. ปฏิญญา บัลโฟร ดูเหมือนจะรับประกันว่า ว่ารัฐบาลอังกฤษ จะควบคุมปาเลสไตน์ หลังสงคราม พร้อมกับคำมั่นว่า จะสร้างที่อยู่ของประชาชาติยิวที่นั่น ให้เรามาดูว่าอะไรที่เกิดขึ้นจริงๆ