
. ดินแดนปาเลสไตน์ เคยมีชื่อว่า “ดินแดนสองสัญญา ” จากที่อังกฤษไม่ตัดสินใจให้แน่นอน เป็นเหตุให้มีการใช้น้ำหมึกแทนการเสียเลือดเนื้อมากกว่าประเด็นอื่นใดในตะวันออกกลาง ในศต.ที่ 20 หลายคนที่ศึกษาปวศ. ตะวันออกกลาง รู้ว่าต้องศึกษาเรื่องนี้อย่างเลี่ยงไม่ได้ ปี 1948 เป็นปีแห่งความขัดแย้งระหว่างอาหรับและอิสราเอล อะไรเป็นสาเหตุหลักของความยุ่งยากที่เกิดขึ้นไปทั่วตะวันออกกลาง
. ที่จริง ปาเลสไตน์หรืออิสราเอลเป็นหนึ่งของปัญหาต่างๆในตะวันออกกลางร่วมสมัย ไม่ว่าจะเป็น สงครามกลางเมือง, การจี้เครื่องบิน,การลอบสังหาร,การลักพาตัว, การปฏิวัติ,การรุกราน, ปัญหาผู้อพยพ ที่เกิดขึ้นในประเทศตะวันออกกลางหลายประเทศ เป็นการยากที่จะหาชื่อปัญหาใดๆ ในตะวันออกกลางปัจจุบัน ที่ไม่ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้งของอาหรับ-อิสราเอล
. แน่นอนว่าความขัดแย้งระหว่างปาเลสไตน์และอิสราเอล เป็นที่สนใจของอำนาจต่างๆ ในโลก ไม่ว่าจะเป็น ยูเอ็น ยังเป็นเป็นภูมิภาคของนักประชาสัมพันธ์ของทั้งสองฝ่าย ที่ต้องจ่ายเงินไปมากมายกับความขัดแย้งจนประเมินค่ามิได้ ในโลกปัจจุบัน
. กำเนิดความขัดแย้ง
. ความขัดแย้งอาหรับ-อิสราเอล เริ่มขึ้นเมื่อใด? ย้อนกลับไปยังบุตรชายสองคนของอับราฮัม,อิสอัค(บรรพบุรุษของชาวยิว) และอิชมาเอล
(ต้นตระกูลอาหรับ)? สงครามระหว่างชาวฮีบรู คนคานาไนท์ คนปาเลสไตน์เป็นคนคานาไนท์ ที่อยู่ในแถบนี้ ก่อนหน้านี้ หรือไม่?
. ใครเริ่มก่อน?
. มุฮัมมัด ทะเลาะอะไร กับยิวที่เมดินา ทำให้รุนแรง ขึ้นไหม ? เป็นสงครามศาสนาระหว่างยูดาห์ และอิสลามหรือไม่ ?
. คนอาหรับบอกว่า ไม่ และยังต้อนรับคนยิวให้มาตั้งถิ่นฐานและเจริญรุ่งเรืองในดินแดนมุสลิมอยู่เสมอ.
. ขบวนการไซออนิสต์ ตอบว่า มุสลิมปกครอง คนยิว เป็นพลเมืองชั้นสอง (คนที่มิใช่มุสลิม อื่น ก็เป็นพลเรือนชั้นสองด้วย)
. ทั้งอาหรับและอิลราเอล ต่างเห็นว่า พวกต่อต้านเซเมติกที่เป็นคริสตเตียน (น่าสลดใจกับคนมีอัคติกับคนยิว ก็เช่นเดียวกับมีอัคติกับคนอาหรับ เป็นพวกเซไมท์ด้วย) นั้นแย่ยิ่งกว่า และความมีอัคติทางปวศ. นั้น ทำให้มาตรฐานความอดทนกับความต่างของศาสนาแย่ลงหรือไม่
. ยิวและอาหรับมีคุณสมบัติที่เหมือนกันบางประการ ทั้งยิวและอาหรับใช้ภาษาเซเมติคและมีความคล้ายกัน หากมองย้อนไปในยุคทองก่อนหน้านี้ ในปวศ.ของแต่ละฝ่าย ไปยังยุคที่มีอำนาจทางการเมือง ความร่ำรวยทางศก การแบ่งบานทางวัฒนธรรม สำหรับคนแต่ละฝ่าย ยุคแห่งความรุ่งโรจน์นั้น มีช่องว่างในช่วงเกิดชะตากรรมทางการเมืองที่ถูกควบคุมโดยคนจากภายนอก เพราะการปราบปรามยิวและอาหรับยาวนาน การเกิดลักธิชาตินิยม (สำหรับคนยิวและอาหรับ เกิดปลายศต.ที่ 19)ที่นับว่าช้า, เต็มไปด้วยความเจ็บปวด,และไม่แน่นอน
. ถ้าพิจารณาศาสนาของแต่ละฝ่าย ที่เปิดเผยให้คนทั่วไปได้เห็นกัน แนวคิดสมัยใหม่ถือว่า ต่างแสดงแนวคิดการรักตัวเองทั้งสองศาสนา ทั้งสองฝ่ายระแวงคนอื่นที่เข้ามาหาประโยชน์ จากพวกเขา กลัวว่าเมื่อสถานการณ์เข้าสู่ความยุ่งยาก โลกทั้งใบจะหันไปต่อต้านพวกเขา ตามที่ยืนยันในไบเบิล และ2000 ปี ของธรรมเนียมประเพณีศาสนา ยิวไซออนนิส์ เชื่อว่า แผ่นดินอิสราเอล (จะกลับมาเป็นของพวกยิว วิหารจะถูกสร้างขึ้นมาใหม่ ในเยรูซาเล็ม สักวัน ในแผ่นดินอิสราเอลเท่านั้น ที่นี่ คนยิงจะรุ่งโรจน์ ในฐานะเป็นชาติผู้ปกครอง)
. อาหรับมุสลิม เชื่อว่าปาเลสไตน์ เป็นส่วนหนึ่งชุมชนคนอิสลาม ประกอบด้วยเยรูซาเล็ม เมืองศักดิ์สิทธิ์ของอิสลาม และเป็นเมืองศักดิ์สิทธิ์กับคนยิวและคต.ด้วยเช่นกัน จะว่าอย่างไรกับอาหรับมุสลิมและคต, ที่อยู่ในปาเลสไตน์ เป็นเวลามากกว่า 1300 ปี (ที่จริงนานกว่า, เมื่ออาหรับพิชิตดินแดนในศต.ที่เจ็ด ยังไม่มีใครไปอยู่แทนที่ ผู้ตั้งถิ่นฐานก่อนหน้านี้),จะให้อาหรับมุสลิม เลิกเรียกร้องแผ่นดินนั้นได้ไหม?
. สิทธิของอาหรับปาเลสไตน์มีสิทธิ์ น้อยกว่าสิทธิ์ของประชาชาติเติร์ก,อิหร่าน ,อียิปต์ หรืออาหรับที่อยู่ในที่อื่นๆ หรือไม่? ข้อโต้แย้งนั้น ตอนนี้ เกิดขึ้นบ่อยครั้งในช่วงยุคสมัยของเราที่โดยธรรมชาติ พวกเขาต้องคิดเช่นนั้น สิ่งนี้ไม่จริง แม้ว่าคนยิวและอาหรับได้เรียกร้องแผ่นดินปาเลสไตน์ ที่ย้อนหลังไปหลายร้อยปี การต่อสู้แย่งชิงดินแดน ที่แท้จริงเริ่มเมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1
. ในตอนนั้น คนไม่กี่คนที่มองเห็นและคิดว่าจะเป็นปัญหาในภายภาคหน้า ในช่วงเวลาของสิ่งที่เราเรียกว่า ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลและอาหรับเข้มข้นขึ้น เนื่องจาก การขึ้นมาของลักธิชาตินิยมสมัยใหม่ (การขึ้นมาของลักธิชาตินิยมสมัยใหม่จะกล่าวถึงภายหลัง) ตอนนี้จะกล่าวถึงการต่อสู้เพื่อแย่งชิงดินแดนปาเลสไตน์(โดยตัวมันเอง ถกเถียงกันได้ ในเรื่องภูมิศาสตร์ จะระบุตำแหน่งคร่าวๆ) ไปจนถึงการสร้างชาติอิสราเอลและรัฐยิว หวังว่าคุณจะเห็นการต่อสู้ระหว่าง ลักธิชาตินิยมอาหรับ และลักธิไซออนนิส ทางการเมือง จะกล่าวถึงช่วงเวลาแห่งความขัดแย้งของอาหรับและอิสราเอล คุณจะเห็นด้วยว่า ทำไมความขัดแย้งจึงเกิดขึ้นบ่อย ยากที่จะแก้ไขและยังเชื่อมโยงกับความขัดแย้งตะวันออกกลางอื่น
การต่อสู้เพื่อแย่งชิงดินแดนปาเลสไตน์
. ดินแดนปาเลสไตน์ เคยมีชื่อว่า “ดินแดนสองสัญญา ” จากที่อังกฤษไม่ตัดสินใจให้แน่นอน เป็นเหตุให้มีการใช้น้ำหมึกแทนการเสียเลือดเนื้อมากกว่าประเด็นอื่นใดในตะวันออกกลาง ในศต.ที่ 20 หลายคนที่ศึกษาปวศ. ตะวันออกกลาง รู้ว่าต้องศึกษาเรื่องนี้อย่างเลี่ยงไม่ได้ ปี 1948 เป็นปีแห่งความขัดแย้งระหว่างอาหรับและอิสราเอล อะไรเป็นสาเหตุหลักของความยุ่งยากที่เกิดขึ้นไปทั่วตะวันออกกลาง
. ที่จริง ปาเลสไตน์หรืออิสราเอลเป็นหนึ่งของปัญหาต่างๆในตะวันออกกลางร่วมสมัย ไม่ว่าจะเป็น สงครามกลางเมือง, การจี้เครื่องบิน,การลอบสังหาร,การลักพาตัว, การปฏิวัติ,การรุกราน, ปัญหาผู้อพยพ ที่เกิดขึ้นในประเทศตะวันออกกลางหลายประเทศ เป็นการยากที่จะหาชื่อปัญหาใดๆ ในตะวันออกกลางปัจจุบัน ที่ไม่ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้งของอาหรับ-อิสราเอล
. แน่นอนว่าความขัดแย้งระหว่างปาเลสไตน์และอิสราเอล เป็นที่สนใจของอำนาจต่างๆ ในโลก ไม่ว่าจะเป็น ยูเอ็น ยังเป็นเป็นภูมิภาคของนักประชาสัมพันธ์ของทั้งสองฝ่าย ที่ต้องจ่ายเงินไปมากมายกับความขัดแย้งจนประเมินค่ามิได้ ในโลกปัจจุบัน
. กำเนิดความขัดแย้ง
. ความขัดแย้งอาหรับ-อิสราเอล เริ่มขึ้นเมื่อใด? ย้อนกลับไปยังบุตรชายสองคนของอับราฮัม,อิสอัค(บรรพบุรุษของชาวยิว) และอิชมาเอล
(ต้นตระกูลอาหรับ)? สงครามระหว่างชาวฮีบรู คนคานาไนท์ คนปาเลสไตน์เป็นคนคานาไนท์ ที่อยู่ในแถบนี้ ก่อนหน้านี้ หรือไม่?
. ใครเริ่มก่อน?
. มุฮัมมัด ทะเลาะอะไร กับยิวที่เมดินา ทำให้รุนแรง ขึ้นไหม ? เป็นสงครามศาสนาระหว่างยูดาห์ และอิสลามหรือไม่ ?
. คนอาหรับบอกว่า ไม่ และยังต้อนรับคนยิวให้มาตั้งถิ่นฐานและเจริญรุ่งเรืองในดินแดนมุสลิมอยู่เสมอ.
. ขบวนการไซออนิสต์ ตอบว่า มุสลิมปกครอง คนยิว เป็นพลเมืองชั้นสอง (คนที่มิใช่มุสลิม อื่น ก็เป็นพลเรือนชั้นสองด้วย)
. ทั้งอาหรับและอิลราเอล ต่างเห็นว่า พวกต่อต้านเซเมติกที่เป็นคริสตเตียน (น่าสลดใจกับคนมีอัคติกับคนยิว ก็เช่นเดียวกับมีอัคติกับคนอาหรับ เป็นพวกเซไมท์ด้วย) นั้นแย่ยิ่งกว่า และความมีอัคติทางปวศ. นั้น ทำให้มาตรฐานความอดทนกับความต่างของศาสนาแย่ลงหรือไม่
. ยิวและอาหรับมีคุณสมบัติที่เหมือนกันบางประการ ทั้งยิวและอาหรับใช้ภาษาเซเมติคและมีความคล้ายกัน หากมองย้อนไปในยุคทองก่อนหน้านี้ ในปวศ.ของแต่ละฝ่าย ไปยังยุคที่มีอำนาจทางการเมือง ความร่ำรวยทางศก การแบ่งบานทางวัฒนธรรม สำหรับคนแต่ละฝ่าย ยุคแห่งความรุ่งโรจน์นั้น มีช่องว่างในช่วงเกิดชะตากรรมทางการเมืองที่ถูกควบคุมโดยคนจากภายนอก เพราะการปราบปรามยิวและอาหรับยาวนาน การเกิดลักธิชาตินิยม (สำหรับคนยิวและอาหรับ เกิดปลายศต.ที่ 19)ที่นับว่าช้า, เต็มไปด้วยความเจ็บปวด,และไม่แน่นอน
. ถ้าพิจารณาศาสนาของแต่ละฝ่าย ที่เปิดเผยให้คนทั่วไปได้เห็นกัน แนวคิดสมัยใหม่ถือว่า ต่างแสดงแนวคิดการรักตัวเองทั้งสองศาสนา ทั้งสองฝ่ายระแวงคนอื่นที่เข้ามาหาประโยชน์ จากพวกเขา กลัวว่าเมื่อสถานการณ์เข้าสู่ความยุ่งยาก โลกทั้งใบจะหันไปต่อต้านพวกเขา ตามที่ยืนยันในไบเบิล และ2000 ปี ของธรรมเนียมประเพณีศาสนา ยิวไซออนนิส์ เชื่อว่า แผ่นดินอิสราเอล (จะกลับมาเป็นของพวกยิว วิหารจะถูกสร้างขึ้นมาใหม่ ในเยรูซาเล็ม สักวัน ในแผ่นดินอิสราเอลเท่านั้น ที่นี่ คนยิงจะรุ่งโรจน์ ในฐานะเป็นชาติผู้ปกครอง)
. อาหรับมุสลิม เชื่อว่าปาเลสไตน์ เป็นส่วนหนึ่งชุมชนคนอิสลาม ประกอบด้วยเยรูซาเล็ม เมืองศักดิ์สิทธิ์ของอิสลาม และเป็นเมืองศักดิ์สิทธิ์กับคนยิวและคต.ด้วยเช่นกัน จะว่าอย่างไรกับอาหรับมุสลิมและคต, ที่อยู่ในปาเลสไตน์ เป็นเวลามากกว่า 1300 ปี (ที่จริงนานกว่า, เมื่ออาหรับพิชิตดินแดนในศต.ที่เจ็ด ยังไม่มีใครไปอยู่แทนที่ ผู้ตั้งถิ่นฐานก่อนหน้านี้),จะให้อาหรับมุสลิม เลิกเรียกร้องแผ่นดินนั้นได้ไหม?
. สิทธิของอาหรับปาเลสไตน์มีสิทธิ์ น้อยกว่าสิทธิ์ของประชาชาติเติร์ก,อิหร่าน ,อียิปต์ หรืออาหรับที่อยู่ในที่อื่นๆ หรือไม่? ข้อโต้แย้งนั้น ตอนนี้ เกิดขึ้นบ่อยครั้งในช่วงยุคสมัยของเราที่โดยธรรมชาติ พวกเขาต้องคิดเช่นนั้น สิ่งนี้ไม่จริง แม้ว่าคนยิวและอาหรับได้เรียกร้องแผ่นดินปาเลสไตน์ ที่ย้อนหลังไปหลายร้อยปี การต่อสู้แย่งชิงดินแดน ที่แท้จริงเริ่มเมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1
. ในตอนนั้น คนไม่กี่คนที่มองเห็นและคิดว่าจะเป็นปัญหาในภายภาคหน้า ในช่วงเวลาของสิ่งที่เราเรียกว่า ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลและอาหรับเข้มข้นขึ้น เนื่องจาก การขึ้นมาของลักธิชาตินิยมสมัยใหม่ (การขึ้นมาของลักธิชาตินิยมสมัยใหม่จะกล่าวถึงภายหลัง) ตอนนี้จะกล่าวถึงการต่อสู้เพื่อแย่งชิงดินแดนปาเลสไตน์(โดยตัวมันเอง ถกเถียงกันได้ ในเรื่องภูมิศาสตร์ จะระบุตำแหน่งคร่าวๆ) ไปจนถึงการสร้างชาติอิสราเอลและรัฐยิว หวังว่าคุณจะเห็นการต่อสู้ระหว่าง ลักธิชาตินิยมอาหรับ และลักธิไซออนนิส ทางการเมือง จะกล่าวถึงช่วงเวลาแห่งความขัดแย้งของอาหรับและอิสราเอล คุณจะเห็นด้วยว่า ทำไมความขัดแย้งจึงเกิดขึ้นบ่อย ยากที่จะแก้ไขและยังเชื่อมโยงกับความขัดแย้งตะวันออกกลางอื่น