พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓ ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
[๔๑๘] ธรรม ๕ อย่างที่ควรให้บังเกิดขึ้นเป็นไฉน
คือสัมมาสมาธิประกอบด้วยญาณ ๕
ได้แก่ญาณบังเกิดขึ้นเฉพาะตนว่า
สมาธินี้มีสุขในปัจจุบัน และ มีสุขเป็นวิบากต่อไป ๑
ญาณบังเกิดขึ้นเฉพาะตนว่า สมาธินี้เป็นอริยะไม่มีอามิส ๑
ญาณบังเกิดขึ้นเฉพาะตนว่า สมาธินี้อันบุรุษผู้ไม่ต่ำช้าเสพแล้ว ๑
ญาณบังเกิด ขึ้นเฉพาะตนว่า สมาธินี้สงบ ประณีต มีปฏิปัสสัทธิอันได้แล้ว ถึงความเป็น ธรรมเอกผุดขึ้น และมิใช่ข่มขี่ห้ามด้วยจิตเป็นสสังขาร ๑
ญาณบังเกิดขึ้นเฉพาะตน ว่า ก็เรานั้น มีสติ เข้าสมาธินี้ และมีสติ ออกจากสมาธินี้ ๑
ธรรม ๕ อย่าง เหล่านี้ควรให้บังเกิดขึ้น ฯ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๑ บรรทัดที่ ๗๒๔๖ - ๗๒๕๓. หน้าที่ ๒๙๘. http://www.84000.org/tipitaka/read/v.php?B=11&A=7246&Z=7253&pagebreak=0
อธิบายความหมายของสัมมาสมาธิ อันประกอบด้วยญาณ ทั้ง 5
[๔๑๘] ธรรม ๕ อย่างที่ควรให้บังเกิดขึ้นเป็นไฉน
คือสัมมาสมาธิประกอบด้วยญาณ ๕
ได้แก่ญาณบังเกิดขึ้นเฉพาะตนว่า
สมาธินี้มีสุขในปัจจุบัน และ มีสุขเป็นวิบากต่อไป ๑
ญาณบังเกิดขึ้นเฉพาะตนว่า สมาธินี้เป็นอริยะไม่มีอามิส ๑
ญาณบังเกิดขึ้นเฉพาะตนว่า สมาธินี้อันบุรุษผู้ไม่ต่ำช้าเสพแล้ว ๑
ญาณบังเกิด ขึ้นเฉพาะตนว่า สมาธินี้สงบ ประณีต มีปฏิปัสสัทธิอันได้แล้ว ถึงความเป็น ธรรมเอกผุดขึ้น และมิใช่ข่มขี่ห้ามด้วยจิตเป็นสสังขาร ๑
ญาณบังเกิดขึ้นเฉพาะตน ว่า ก็เรานั้น มีสติ เข้าสมาธินี้ และมีสติ ออกจากสมาธินี้ ๑
ธรรม ๕ อย่าง เหล่านี้ควรให้บังเกิดขึ้น ฯ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้