ที่มา :
http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25.0&i=30&p=2
๒. สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจาติ ยทา ปญฺญาย ปสฺสติ
อถ นิพฺพินฺทติ ทุกฺเข เอส มคฺโค วิสุทฺธิยา.
เมื่อใด บัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า 'สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง'
เมื่อนั้น ย่อมหน่ายในทุกข์, ความหน่ายในทุกข์ นั่นเป็นทาง
แห่งความหมดจด.
สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขาติ ยทา ปญฺญาย ปสฺสติ
อถ นิพฺพินฺทติ ทุกฺเข เอส มคฺโค วิสุทฺธิยา.
เมื่อใด บัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า 'สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์'
เมื่อนั้น ย่อมหน่ายในทุกข์, ความหน่ายในทุกข์ นั่นเป็นทาง
แห่งความหมดจด.
สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตาติ ยทา ปญฺญาย ปสฺสติ
อถ นิพฺพินฺทติ ทุกฺเข เอส มคฺโค วิสุทฺธิยา.
เมื่อใด บัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า ‘ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา’
เมื่อนั้น ย่อมหน่ายในทุกข์, ความหน่ายในทุกข์ นั่นเป็นทาง
แห่งความหมดจด.
**จุดที่น่าสังเกตุคือ พระพุทธเจ้าท่านตรวจดูภิกษุสาวกว่าเหมาะสมกับธรรมอันใด ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ อนัตตา อันใดอันหนึ่ง จึงสอนสิ่งที่เหมาะสมกับภิกษุเหล่านั้น บางอย่างที่ไม่เหมาะก็ทำให้ภิกษุเหล่านั้นไม่สามารถศึกษาจนเข้าใจได้ แม้จะเป็นธรรมมะเหมือนๆกัน
ทางแห่งความหมดจด
ที่มา : http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25.0&i=30&p=2
๒. สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจาติ ยทา ปญฺญาย ปสฺสติ
อถ นิพฺพินฺทติ ทุกฺเข เอส มคฺโค วิสุทฺธิยา.
เมื่อใด บัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า 'สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง'
เมื่อนั้น ย่อมหน่ายในทุกข์, ความหน่ายในทุกข์ นั่นเป็นทาง
แห่งความหมดจด.
สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขาติ ยทา ปญฺญาย ปสฺสติ
อถ นิพฺพินฺทติ ทุกฺเข เอส มคฺโค วิสุทฺธิยา.
เมื่อใด บัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า 'สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์'
เมื่อนั้น ย่อมหน่ายในทุกข์, ความหน่ายในทุกข์ นั่นเป็นทาง
แห่งความหมดจด.
สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตาติ ยทา ปญฺญาย ปสฺสติ
อถ นิพฺพินฺทติ ทุกฺเข เอส มคฺโค วิสุทฺธิยา.
เมื่อใด บัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า ‘ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา’
เมื่อนั้น ย่อมหน่ายในทุกข์, ความหน่ายในทุกข์ นั่นเป็นทาง
แห่งความหมดจด.
**จุดที่น่าสังเกตุคือ พระพุทธเจ้าท่านตรวจดูภิกษุสาวกว่าเหมาะสมกับธรรมอันใด ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ อนัตตา อันใดอันหนึ่ง จึงสอนสิ่งที่เหมาะสมกับภิกษุเหล่านั้น บางอย่างที่ไม่เหมาะก็ทำให้ภิกษุเหล่านั้นไม่สามารถศึกษาจนเข้าใจได้ แม้จะเป็นธรรมมะเหมือนๆกัน