สมัยก่อนเมื่อประมาณ พ.ศ 2510 ทุกที่ทุกชนบทต่างขอรับบริจาก หนังสือเพื่ออ่านเพื่อศึกษาให้กับเด็กๆ ได้อ่านได้ศึกษากัน.
ผมเองในสมัยนั้นยังเป็นเด็ก ก็เห็นว่าการอ่านการศึกษาหาความรู้ ความสามารถ และปัญญา เป็นสิ่งที่ต้องทำต้องเจริญขึ้นไปตามลำดับ แม้ว่าเราเองอยู่ในฐานะอันเป็นทุกข์ ก็ต้องต่อสู้เพื่อ ปัญญาและความรู้ และต้องปฏิบัติธรรมเพื่อรักษาจิตใจ เพื่อไม่ให้บ้าหรือผิดเพี้ยนไป ในการต่อสู้กับความกดดันบีบคั้นทุกด้าน จากพ่อตนเองและสังคมกฏหมาย
จนทุกอย่างผ่านมาได้อย่างเอาชีวิตเข้าแลกจนถึงปัจจุบัน ที่พ้นจากวิกฤติและทุกข์นั้นไปแล้ว แล้วก็อยู่อย่าง สงบสุขครบทุกอย่างตามอุปนิสัยที่สร้างสมมา ก็มาจากการอ่านการศึกษาทั้งทางโลกพร้อมทั้งทางธรรมและปฏิบัติตามจนยิ่งยวด.
และพระอาจาร์ยที่สอนกรรมฐานผม ก็จบเปรียนธรรม 9. ประโยค เป็นเจ้าคุณ ที่สอนผมให้ปฏิบัติธรรมท่านเพียงบอกเตือนว่า ให้วางทิ้งการศึกษาบัญญัติ ไปก่อนเลยในช่วงกำหนดรู้ปฏิบัติธรรม เพียงเท่านนั้น ไม่ใช่ให้ทิ้งไปเสียเลย หรือเอาไปเผาไฟเสีย เมื่อไม่อยู่ในช่วงปฏิบัติธรรม จะศึกษาพระไตรปิฏก หรือเรียนอภิธรรม ก็ตามแต่สะดวก
แต่กลับมีผู้มีทิฏฐิสุดโต้ง ให้เอาพระไตรปิฏกทิ้งไม่ต้องอ่านไม่ต้องศึกษาอีก หรือเอาไปเผาไฟเสีย
และยังมีทิฏฐิอีกแบบให้ตัดไปบางส่วน ที่เป็นอภิธรรมปิฏก ที่เป็นอรรถกถาทิ้งไปเสีย เหลือเพียงสุตันตปิฏก ก็เพียงพอ แต่กลับคิดไม่ถึงไปว่า ส่วนที่ตนเองขยายเพิ่มเติมทิฏฐิ(ความคิดเห็น)ต่างๆ ในพระสุตันตปิฏก นั้นก็คือส่วนเกินได้เช่นกัน และเมื่อเห็นว่าให้ตัดทิ้งส่วนอื่นๆ ได้ แล้วไม่คิดกลับว่าได้ไปตัดส่วนธรรมสำคัญที่ปัญญาตนยังไม่ถึงไปหรือ?
และเมื่อตนเองตัดได้ แล้วผู้อื่นหรือกลุ่มอื่นเห็นว่าตัดได้ ก็ต้องตัดได้เช่นกัน แล้วจะเหลือธรรมใดเหลือให้กับชนรุ่นหลังได้ศึกษาเล่า
ดังนั้น พึงควรตั้งมติด้งเดิม คือรักษาพระไตรปิฏก ไม่ไปตัดหรือไปเพิ่ม รักษาของเดิมไว้อย่างมั่นคงเดิม จะมีความเห็นอย่างไร ก็ให้แยกไปต่างหาก
ปัจจุบันควรมีมติว่า รักษาของเดิมไว้ ไม่ว่าที่ผ่านมาจะมีการเพิ่มหรือตัดออกไปแล้วก็ตามอย่างมั่นคง ก็ยังธรรมส่วนสำคัญไว้ได้อยู่ เมื่อใดมีทิฏฐิความเห็นว่า ตัดได้เพิ่มได้ แล้วจะเหลือธรรมสำคัญใดๆ ให้ชนรุ่นหลังศึกษากันเล่า
หมายเหตุ ผู้ที่ไปตัดหรือเพิ่มก็เป็นกรรมของท่านเหล่านั้น
ทำไมต้องไปทิ้ง บัญญัต พระไตรปิฏก หรือเอาไปเผาไฟเสีย จะไม่ให้อ่านให้ศึกษากันหรือ? แล้วจะรู้ จะเรียนรู้ ศึกษาได้อย่างไร
ผมเองในสมัยนั้นยังเป็นเด็ก ก็เห็นว่าการอ่านการศึกษาหาความรู้ ความสามารถ และปัญญา เป็นสิ่งที่ต้องทำต้องเจริญขึ้นไปตามลำดับ แม้ว่าเราเองอยู่ในฐานะอันเป็นทุกข์ ก็ต้องต่อสู้เพื่อ ปัญญาและความรู้ และต้องปฏิบัติธรรมเพื่อรักษาจิตใจ เพื่อไม่ให้บ้าหรือผิดเพี้ยนไป ในการต่อสู้กับความกดดันบีบคั้นทุกด้าน จากพ่อตนเองและสังคมกฏหมาย
จนทุกอย่างผ่านมาได้อย่างเอาชีวิตเข้าแลกจนถึงปัจจุบัน ที่พ้นจากวิกฤติและทุกข์นั้นไปแล้ว แล้วก็อยู่อย่าง สงบสุขครบทุกอย่างตามอุปนิสัยที่สร้างสมมา ก็มาจากการอ่านการศึกษาทั้งทางโลกพร้อมทั้งทางธรรมและปฏิบัติตามจนยิ่งยวด.
และพระอาจาร์ยที่สอนกรรมฐานผม ก็จบเปรียนธรรม 9. ประโยค เป็นเจ้าคุณ ที่สอนผมให้ปฏิบัติธรรมท่านเพียงบอกเตือนว่า ให้วางทิ้งการศึกษาบัญญัติ ไปก่อนเลยในช่วงกำหนดรู้ปฏิบัติธรรม เพียงเท่านนั้น ไม่ใช่ให้ทิ้งไปเสียเลย หรือเอาไปเผาไฟเสีย เมื่อไม่อยู่ในช่วงปฏิบัติธรรม จะศึกษาพระไตรปิฏก หรือเรียนอภิธรรม ก็ตามแต่สะดวก
แต่กลับมีผู้มีทิฏฐิสุดโต้ง ให้เอาพระไตรปิฏกทิ้งไม่ต้องอ่านไม่ต้องศึกษาอีก หรือเอาไปเผาไฟเสีย
และยังมีทิฏฐิอีกแบบให้ตัดไปบางส่วน ที่เป็นอภิธรรมปิฏก ที่เป็นอรรถกถาทิ้งไปเสีย เหลือเพียงสุตันตปิฏก ก็เพียงพอ แต่กลับคิดไม่ถึงไปว่า ส่วนที่ตนเองขยายเพิ่มเติมทิฏฐิ(ความคิดเห็น)ต่างๆ ในพระสุตันตปิฏก นั้นก็คือส่วนเกินได้เช่นกัน และเมื่อเห็นว่าให้ตัดทิ้งส่วนอื่นๆ ได้ แล้วไม่คิดกลับว่าได้ไปตัดส่วนธรรมสำคัญที่ปัญญาตนยังไม่ถึงไปหรือ?
และเมื่อตนเองตัดได้ แล้วผู้อื่นหรือกลุ่มอื่นเห็นว่าตัดได้ ก็ต้องตัดได้เช่นกัน แล้วจะเหลือธรรมใดเหลือให้กับชนรุ่นหลังได้ศึกษาเล่า
ดังนั้น พึงควรตั้งมติด้งเดิม คือรักษาพระไตรปิฏก ไม่ไปตัดหรือไปเพิ่ม รักษาของเดิมไว้อย่างมั่นคงเดิม จะมีความเห็นอย่างไร ก็ให้แยกไปต่างหาก
ปัจจุบันควรมีมติว่า รักษาของเดิมไว้ ไม่ว่าที่ผ่านมาจะมีการเพิ่มหรือตัดออกไปแล้วก็ตามอย่างมั่นคง ก็ยังธรรมส่วนสำคัญไว้ได้อยู่ เมื่อใดมีทิฏฐิความเห็นว่า ตัดได้เพิ่มได้ แล้วจะเหลือธรรมสำคัญใดๆ ให้ชนรุ่นหลังศึกษากันเล่า
หมายเหตุ ผู้ที่ไปตัดหรือเพิ่มก็เป็นกรรมของท่านเหล่านั้น