หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
สฬายาตน เมื่อรู้ชัดก็รู้แจ้ง
กระทู้สนทนา
มหาสติปัฏฐาน 4
1.มีความสัมพันธ์กันระหว่าง สฬายาตนกับจิต วิญญาน
2.ในวิปัสนา รูปแตกกระจายออกได้ (กายอริย4ประเภท) กายที่แตกออกอย่างไร รับรู้ได้ด้วยวิญญาน และให้ผล(จิต)ที่แตกต่างกัน
3.วิปัสนาคือรู้เหตุ เหตุมาจากสฬายาตน สฬายาตนที่แตกต่างกันในแต่ละขณะ ผัสสะจึงต่างกัน ให้ผล(จิต)ที่ต่างกันไปด้วย
4.ภาวนาให้มีจิตตั้งมั่นที่ฐาน ฐานรวมทั้งการรู้ทั้งกายใจ แต่ละขณะฐานจึงต่างกันไปด้วยก็ให้รู้
5.เมื่อวิญญานดับ ตัวรู้ จิตตั้งมั่นที่ฐานก็ดับ ชีวิตตินทรีย์ก็ดับ
ตัวตนก็ดับ
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
เริ่มจากมีผู้ดูแล้วปหานธรรม
จิตเกิดดับต่อเนื่องกันไป อัตตาตัวตนเกิด ภพชาติ ชรา มรณะเกิดตามสายปฎิจสมุปบาท “ไม่มีผู้ดู” จึงไม่เห็นว่า มันเกิดไปตามเรื่องของมัน ไม่มี เราจริงๆไปเกี่ยวข้อง วิปัสนาคือให้“เริ่มการม
สมาชิกหมายเลข 3237158
เมื่อแยกรูปนามได้ จึงเห็น“จิตตั้งมั่น”
1.แยกรูปนามได้ จะเห็น“อย่างไรคือจิตตั้งมั่น” 2.เมื่อมีจิตตั้งมั่น จะเห็นอย่างไรคือจิต อย่างไรคือวิญญาน 3.จิตกับวิญญานนั้นจะไม่ปะปนกัน เช่นขณะได้ยินเสียง(วิญญาน) ขณะจิตตั้งมั่นอยู่ (จิต
สมาชิกหมายเลข 3237158
เห็นจิต2ตัว
ในขณะจิตใดๆ ให้เห็นจิต2ตัวนี้ 1.จิตที่ตั้งมั่น เรียกจิตถึงฐาน เกิดได้ด้วยมีสัมมาสมาธิ เห็นทั้งตัวจากหัวถึงฝ่าเท้า นามกาย 2.วิญญาน จิตที่วิ่งไปรับรู้อารมณ์ทางอายาตน6 จิตที่วิ่งไปรู้อารมณ์ แ
สมาชิกหมายเลข 3237158
ไฟแห่งการดำรงอยู่: การทำความเข้าใจไตรลักษณ์และเหตุปัจจัยดับกิเลสและภพชาติได้อย่างไรในพุทธศาสนาแรกเริ่ม (AI GENERATED)
https://www.youtube.com/watch?v=TwtEJIAjaSk #ปฏิจจสมุปบาท #นิพพาน #วิปัสสนา คุณสงสัยไหมว่าอะไรคือแก่นแท้ของคำสอนพุทธศาสนาแรกเริ่ม? คำตอบอยู่ที่การทำความเข้าใจ ไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) และ ปฏ
สมาชิกหมายเลข 8933017
จิตที่กลืนกับอากาส
เมื่อจิตกลืนกับความว่างได้ (อากาสาฌาน)ความคิด ความเห็นจะเปลี่ยนไป(ทิฐิ) รูปไม่ใช่เรา รู้เมื่อใดก็สลายหายไป ไม่เป็นกลุ่มก้อน ให้เป็นนิรณ์แก่จิต นามไม่ใช่เรา (เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน) การทำจิตให้เป็นอ
สมาชิกหมายเลข 3237158
---- เรียนท่าน masked rider และท่านผู้สนใจ ปฏิจจสมุปบาท เข้าใจแบบนี้ ถูกต้องไหม ครับ
กระทู้เดิม ของท่านซึ่งเป็นเช่นนั้นเอง คล็ดลับในการปิดกั้นทางเกิดแห่งปฏิจจสมุปบาท๑ https://pantip.com/topic/39203598/comment6 ความคิดเห็นที่ 6 ---- ขออนุญาต แสดงความเห็นส่วนตัวนะครับ "คือปรกติ
วงกลม
ที่เรามาประพฤติปฏิบัติธรรมะนั้นอยู่ที่กายกับใจ ไม่ใช่อยู่ที่ตำราตัวหนังสือ
ที่เรามาประพฤติปฏิบัติธรรมะนั้นอยู่ที่กายกับใจ ไม่ใช่อยู่ที่ตำราตัวหนังสือ ยืน เดิน นั่ง นอน ล้วนเป็นธรรมะ กายและใจเรามีอยู่กับตัวอยู่แล้วไม่มาก ก่อนจะมากคือ ใจมันปรุงแต่งหลงไปอารมณ์ นักปฏิบัติก็มัว
สมาชิกหมายเลข 3475454
ผู้รู้คืออะไรกันแน่
1.ผู้รู้ตั้งขึ้นได้ด้วยมีการไหลเวียนพลังจักรวาล ทั่วศรีษะ หัวใจ ท้อง มือ เท้า แขน เป็นรอบๆ เรียกการมีผู้รู้อย่างนี้ว่า สมาธิ 2.ผู้รู้จึงถูกทำให้เกิด ให้ตั้งอยู่ จากการระลึกรู้ เมื่อมีเจตจำนง เจตนา 3.
สมาชิกหมายเลข 3237158
หลวงปู่มั่นว่า "เจ้าเรียนจากตำรา มันเป็นความจำเด้อ เจ้าทิ้งไว้ซะก่อน ทิ้งไว้นอกวัด อย่าสิเอาเข้ามาในวัด"
หลวงปู่มั่นว่า เจ้าเรียนจากตำรา มันเป็นความจำเด้อ เจ้าทิ้งไว้ซะก่อน ทิ้งไว้นอกวัด อย่าสิเอาเข้ามาในวัด มาศึกษาธรรมะ เจ้าจะมาหาของจริง ให้เจ้าทิ้งความจำ นี่แต่ว่าคำสอนพระพุทธเจ้าเรียกว่า สะจิตตะปะริโ
สมาชิกหมายเลข 3475454
อาทิสมานกาย กายทิพย์
“จิต”เมื่อไม่ยึดมั่นต่อสิ่งใด ก็เกิดการจางคลายในขันธ์5 ตามมาเป็นธรรมดา เมื่อไม่ยึดมั่นในรูปที่เป็นกลุ่มก้อน ก็เป็นเข้าสภาวะกายละเอียด อาทิสมานกาย กายทิพย์ ให้มีฐานกายอย่างนี้เป็นที่ตั้ง
สมาชิกหมายเลข 3237158
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
มหาสติปัฏฐาน 4
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ :
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
สฬายาตน เมื่อรู้ชัดก็รู้แจ้ง
2.ในวิปัสนา รูปแตกกระจายออกได้ (กายอริย4ประเภท) กายที่แตกออกอย่างไร รับรู้ได้ด้วยวิญญาน และให้ผล(จิต)ที่แตกต่างกัน
3.วิปัสนาคือรู้เหตุ เหตุมาจากสฬายาตน สฬายาตนที่แตกต่างกันในแต่ละขณะ ผัสสะจึงต่างกัน ให้ผล(จิต)ที่ต่างกันไปด้วย
4.ภาวนาให้มีจิตตั้งมั่นที่ฐาน ฐานรวมทั้งการรู้ทั้งกายใจ แต่ละขณะฐานจึงต่างกันไปด้วยก็ให้รู้
5.เมื่อวิญญานดับ ตัวรู้ จิตตั้งมั่นที่ฐานก็ดับ ชีวิตตินทรีย์ก็ดับ ตัวตนก็ดับ