1) 9 เมษายน พ.ศ. 2535 กรุงเทพมหานครอนุมัติสัมปทานการก่อสร้างและจัดการเดินรถให้กับ บริษัท บางกอก ทรานซิส ซิสเท็ม จำกัด หรือ
บีทีเอส (ปัจจุบัน คือ บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)) อันเป็นกิจการค้าร่วมระหว่าง บริษัท ธนายง จำกัด (ปัจจุบัน คือ บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน)) ของคีรี กาญจนพาสน์ กับ บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่งแอนด์คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัท ซิโต จำกัด และ ดิคไคโฮฟฟ์ แอนด์ วิดมันน์ (Dyckerhoff & Widmann AG) จากประเทศเยอรมนี
อ้างอิง
https://themomentum.co/bts-skytrain-concession/
2) มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2537 เรื่อง พื้นที่ที่ควรกำหนดให้ระบบขนส่งมวลชน (รถไฟฟ้า) เป็นระบบใต้ดิน
อ้างอิง
https://www.ryt9.com/s/cabt/2613256#google_vignette
3) มติคณะรัฐมนตรีเมื่อ27กันยายน2537
แผนแม่บทฉบับพ.ศ.2537 ตามโครงการแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนกรงเทพมหานคร (MTMP)ขององค์การรถไฟฟ้ามหานครเสนอโครงข่ายระยะทาง 135กม.และระบบขนส่งมวลชนขนาดรองเพื่อเสริมการเข้าถึงของระบบหลัก11โครงการระยะทาง206กม.รวมเป็น341กม.
อ้างอิง
https://www.otp.go.th/uploads/tiny_uploads/PolicyPlan/1-PolicyPlan/M-MAP2/Report-MMAP-OTP.pdf
4) BTS แย่งส่วนดีที่สุด ของ แผนแม่บท MRT 27 กันยายน 2537 หลังจาก ผิดสัญญาแล้ววผิดสัญญาอีก ไม่ได้ตอกเสาเข็ม ใดๆ ตั้งแต่ 9 เมษายน 2535
5) หลักฐาน
รถไฟใต้ดินถูกกว่า ของ สภาองค์
กรผู้บริโภค
6) BTS ได้สัมปทาน ตั้งแต่ ปี 2535 คิดจับเสือมือเปล่า เริ่มโครงการไม่ได้ เกิน 2 ปี นะครับ หากยกเลิกBTS และ MRT ได้ส่วนกำไรสูงสุด หรือ จตุจักร- สีลม และ จตุจักร - บางนา มาก่อสร้าง และ บริหาร ต้นทุน MRT จะต่ำลงกว่า 28 บาท และ สามารถ ราคา 15 บาท ตลอดสาย ตามแผนแม่บทเดิม พร้อมกำไร รวมทั้ง 25 ตารางกิโลเมตร ต้องอยู่ใต้ดินตามมติคณะรัฐมนตรี 17 พฤษภาคม 2537
ปัจจุบันค่าโดยสารแพง ประชาชนเดือดร้อน รัฐมีหนี้ กลุ่ม BTS จากหนี้สิน กลายเป็นเจ้าสัว เพราะBTSได้สร้าง ครับ
7) การลงทุนระบบขนส่งมวลชนต้องลงทุนสูงแต่ผลตอบแทนต่ำ รัฐจึงต้องสนับสนุน
รัฐบาลจะรับภาระค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นสูงสุด (Ceiling Figure)ไม่เกิน 16,500 ล้านบาท โดยเฉลี่ยจ่ายตามความเป็นจริงตามแผนงานก่อสร้าง ซึ่งจะประมาณการโดยวิศวกร ที่ปรึกษาที่เป็นกลางและเชื่อถือได้
เนื่องจากบริษัท บางกอกแลนด์ฯ ยอมรับภาระค่าใช้จ่าย อื่น ๆ ที่เพิ่มขึ้นในการจัดหาเงินลงทุน รายได้ที่สูญเสีย อันเนื่องมาจากระยะเวลาการก่อสร้างที่เพิ่มขึ้น และ ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการระบบรถไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น จึงให้แก้ไขข้อสัญญาให้บริษัทผู้รับสัมปทาน (MTMT)
เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็น 6,000 ล้านบาท ภายใน 180 วันหลังมีการตกลงจ่ายเงินชดเชยให้แก่บริษัทตามค่าใช้จ่าย ที่เพิ่มขึ้นสูงสุดที่รัฐต้องจ่ายชดเชย และเพิ่มทุนจดทะเบียนเป็น 15,000 ล้านบาท เมื่อเปิดดำเนินการเดินรถ
ให้ขยายระยะเวลาการก่อสร้างทั้งโครงการเป็นเวลา 5 ปี 6 เดือน นับจากวันลงนามในสัญญา เนื่องจากยังไม่ได้เริ่มดำเนินการใดๆ ตั้งแต่ 9 เมษายน 2535
อ้างอิง รายงานการประชุม คณะกรรมการจัดการจราจรทางบก ครั้งที่ 11/2537 วันที่ 21 กรกฎาคม 2537
https://www.otp.go.th/uploads/tiny_uploads/MainGroup/2537(1-19)/11-2537(%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AF).PDF
ตาสว่างหรือยังครับ ? ค่าโดยสารรถไฟ บนดิน แพงกว่าใต้ดิน เพราะนักการเมืองครับ
อ้างอิง https://themomentum.co/bts-skytrain-concession/
2) มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2537 เรื่อง พื้นที่ที่ควรกำหนดให้ระบบขนส่งมวลชน (รถไฟฟ้า) เป็นระบบใต้ดิน
อ้างอิง https://www.ryt9.com/s/cabt/2613256#google_vignette
3) มติคณะรัฐมนตรีเมื่อ27กันยายน2537
แผนแม่บทฉบับพ.ศ.2537 ตามโครงการแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนกรงเทพมหานคร (MTMP)ขององค์การรถไฟฟ้ามหานครเสนอโครงข่ายระยะทาง 135กม.และระบบขนส่งมวลชนขนาดรองเพื่อเสริมการเข้าถึงของระบบหลัก11โครงการระยะทาง206กม.รวมเป็น341กม.
อ้างอิง https://www.otp.go.th/uploads/tiny_uploads/PolicyPlan/1-PolicyPlan/M-MAP2/Report-MMAP-OTP.pdf
4) BTS แย่งส่วนดีที่สุด ของ แผนแม่บท MRT 27 กันยายน 2537 หลังจาก ผิดสัญญาแล้ววผิดสัญญาอีก ไม่ได้ตอกเสาเข็ม ใดๆ ตั้งแต่ 9 เมษายน 2535
5) หลักฐาน รถไฟใต้ดินถูกกว่า ของ สภาองค์กรผู้บริโภค
รัฐบาลจะรับภาระค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นสูงสุด (Ceiling Figure)ไม่เกิน 16,500 ล้านบาท โดยเฉลี่ยจ่ายตามความเป็นจริงตามแผนงานก่อสร้าง ซึ่งจะประมาณการโดยวิศวกร ที่ปรึกษาที่เป็นกลางและเชื่อถือได้
เนื่องจากบริษัท บางกอกแลนด์ฯ ยอมรับภาระค่าใช้จ่าย อื่น ๆ ที่เพิ่มขึ้นในการจัดหาเงินลงทุน รายได้ที่สูญเสีย อันเนื่องมาจากระยะเวลาการก่อสร้างที่เพิ่มขึ้น และ ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการระบบรถไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น จึงให้แก้ไขข้อสัญญาให้บริษัทผู้รับสัมปทาน (MTMT)
เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็น 6,000 ล้านบาท ภายใน 180 วันหลังมีการตกลงจ่ายเงินชดเชยให้แก่บริษัทตามค่าใช้จ่าย ที่เพิ่มขึ้นสูงสุดที่รัฐต้องจ่ายชดเชย และเพิ่มทุนจดทะเบียนเป็น 15,000 ล้านบาท เมื่อเปิดดำเนินการเดินรถ
ให้ขยายระยะเวลาการก่อสร้างทั้งโครงการเป็นเวลา 5 ปี 6 เดือน นับจากวันลงนามในสัญญา เนื่องจากยังไม่ได้เริ่มดำเนินการใดๆ ตั้งแต่ 9 เมษายน 2535
อ้างอิง รายงานการประชุม คณะกรรมการจัดการจราจรทางบก ครั้งที่ 11/2537 วันที่ 21 กรกฎาคม 2537
https://www.otp.go.th/uploads/tiny_uploads/MainGroup/2537(1-19)/11-2537(%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AF).PDF