TIMELINE การอภิวัฒน์การศึกษา 2538 เปรียบเทียบกับ ประชานิยม
1 กรกฎาคม 2538 - พฤศจิกายน 2538 150 วัน ในกระทรวงศึกษาธิการ 11 นโยบาย 4 ปฏิรูป
ประเทศไทยได้รับรางวัลนานาชาติจากการอภิวัฒนการษศึกษาไทย 2538 คือ
1) รางวัล และ ปริญญาเอกการบริหารการศึกษา มอบให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
จากนโยบาย แนวทางการปฏิรูป และ คู่มือการปฏิรูปการศึกษาซึ่งหลายประเทศนำไปใช้ และประสบผลสำเร็จ
ปี 2538 ถึง ปี 2542 ประเทศไทย เลื่อนขึ้น 5 อันดับ จาก 42 เป็น 37

15 ปี ปฏิรูปการศึกษาไทย
เลาะเลียบคลองผดุงฯ
ตุลย์ ณ ราชดำเนิน tulacom@gmail.com
ผ่านมาวันนี้ย่างเข้าสู่เดือนกันยายน 2566 หากนับเอาเดือน สิงหาคม ปี 2542 เป็นวันที่บรรดานักปฏิรูปการศึกษายุคนั้น ประกาศถึงความสำเร็จและภาคภูมิใจที่สามารถผลักดันให้เกิดกฎหมายการศึกษาแห่งชาติ ก่อเกิดคุณอนันต์แก่ประเทศชาติเป็นล้นพ้น อันส่งผลต่อคุณภาพของคนไทยในอนาคต ผ่านมา 15 ปี
จากคนกลุ่มหนึ่งที่เรียกขานกันว่า 9 อรหันต์การศึกษาในสำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปการศึกษา ส่วนใหญ่หัวนอกและไม่ยอมฟังเสียงท้วงติงของคนศธ. มั่นใจว่าการปรับโครงสร้างและการ กระจายอำนาจจัดการศึกษา การจัดการเรียนรู้ที่ถือผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และการพัฒนาวิชาชีพครู ตามแนวคิดของตนนั้นถูกต้อง
นับแต่นั้นมา ศธ.จากที่เคยมีโครงสร้าง 14 กรม ยุบรวมเหลือ 5 องค์กรหลัก คือ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.) สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ .) และสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (สป.)
กระนั้นก็ดียังมีเรื่องที่โต้แย้งและถกเถียงในความเห็นไม่เพียงเรื่องการพัฒนาวิชาชีพครู และเขตพื้นที่การศึกษาจะลงตัวที่จำนวนเท่าไร ตามมาด้วยการศึกษาที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง หรือ ไชลด์เซ็นเตอร์
ปี 2545
จากวลีเด็ดของนักเรียนหญิงคนหนึ่งที่ทำเอาคำขวัญวันเด็กของนายกรัฐมนตรี ปี 2545 แทบตกพื้นที่ข่าว คือ การวิจารณ์ถึงวิธีการจัดการเรียนการสอนไชลด์เซ็นเตอร์ของคุณครู มีสภาพไม่ต่างไปจาก ควายเซ็นเตอร์ เนื่องจากครูไม่เข้าใจและยังไม่มีแหล่งเรียนรู้นอกห้องพอที่จะทำให้เข้าถึงการเรียนรู้ด้วยตนเองได้
ปี 2549
ผ่านไป 7 ปีตรงกับ 23 ส.ค. 2549 สมศ.เปิดผลการออกประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานรอบแรก พ.ศ. 2544-2548 จำนวน 30,010แห่ง ไม่ได้มาตรฐานขั้นต่ำถึง 20,000 แห่ง และอยู่ขั้นโคม่าหรือ ICU กว่า 15,000 แห่ง
เดือนสิงหาคมที่เพิ่งจะผ่านมาครบ 15 ปี อยากให้ลองทบทวนกันว่า นับแต่ประกาศใช้ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เปลี่ยนรมว.ศธ.และรัฐมนตรีช่วยมาแล้วเท่าใด น่าจะเป็นสถิติสูงสุดในโลก
ส่วนใหญ่เมื่อมาแล้วมักพยายามสร้างให้มีผลงานใหม่ๆ มั่นใจตนเองถึงความรู้ ความเก่งและเฉลียวฉลาดเหนือกว่าคนการศึกษาที่ทำงานมายาวนาน
ก็อย่างที่เห็นและเป็นไป 15 ปี ปฏิรูปการศึกษา มีอะไรที่ไปถึงฝั่งอย่างที่คิดกันมั่ง ช่วยบอกที
ปี 2568
การศึกษาไทย ใน ยุค ประชานิยม
การศึกษาไทย ยุค อภิวัฒน์การศึกษา 2538
TIMELINE การอภิวัฒน์การศึกษา 2538 ของคุณพ่อสุขวิช รังสิตพล เปรียบเทียบกับ ยุค ประชานิยม- ปัจจุบัน
1) สำนักงานปลัดกระทรวง
2) กรมปฏิรูปสถานศึกษา
3) กรมปฏิรูปครู
4)กรมปฏิรูปหลักสูตร
5) กรมปฏิรูประบบบริหารสถานศึกษา
https://drive.google.com/file/d/1koBrisaqUuQy33QBcQWKHNMe-VMFGrr7/view?
แนวทางนี้หลายประเทศนำไปใช้ เช่นประเทศ ฟินแลนด์ ในปี 1998
จากนโยบาย แนวทางการปฏิรูป และ คู่มือการปฏิรูปการศึกษาซึ่งหลายประเทศนำไปใช้ และประสบผลสำเร็จ
https://web.archive.org/web/20220904100222/https://www.seameo.org/vl/library/dlwelcome/photogallery/president/sukavich.htm
https://drive.google.com/file/d/15QlrFCwSFYi0cKoRV6-jIJODbiC6FPlK/view?usp=drivesdk
https://drive.google.com/file/d/1JLvKeOom22AL7w_RBHFXOTC7nydqLtew/view?usp=drivesdk
https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000114483
3) ปี 2541 UNESCO มอบ รางวัลการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการบริหารการศึกษา และ บริการการศึกษา
https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000141834
เลาะเลียบคลองผดุงฯ
ตุลย์ ณ ราชดำเนิน tulacom@gmail.com
ผ่านมาวันนี้ย่างเข้าสู่เดือนกันยายน 2566 หากนับเอาเดือน สิงหาคม ปี 2542 เป็นวันที่บรรดานักปฏิรูปการศึกษายุคนั้น ประกาศถึงความสำเร็จและภาคภูมิใจที่สามารถผลักดันให้เกิดกฎหมายการศึกษาแห่งชาติ ก่อเกิดคุณอนันต์แก่ประเทศชาติเป็นล้นพ้น อันส่งผลต่อคุณภาพของคนไทยในอนาคต ผ่านมา 15 ปี
จากคนกลุ่มหนึ่งที่เรียกขานกันว่า 9 อรหันต์การศึกษาในสำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปการศึกษา ส่วนใหญ่หัวนอกและไม่ยอมฟังเสียงท้วงติงของคนศธ. มั่นใจว่าการปรับโครงสร้างและการ กระจายอำนาจจัดการศึกษา การจัดการเรียนรู้ที่ถือผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และการพัฒนาวิชาชีพครู ตามแนวคิดของตนนั้นถูกต้อง
นับแต่นั้นมา ศธ.จากที่เคยมีโครงสร้าง 14 กรม ยุบรวมเหลือ 5 องค์กรหลัก คือ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.) สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ .) และสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (สป.)
กระนั้นก็ดียังมีเรื่องที่โต้แย้งและถกเถียงในความเห็นไม่เพียงเรื่องการพัฒนาวิชาชีพครู และเขตพื้นที่การศึกษาจะลงตัวที่จำนวนเท่าไร ตามมาด้วยการศึกษาที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง หรือ ไชลด์เซ็นเตอร์
จากวลีเด็ดของนักเรียนหญิงคนหนึ่งที่ทำเอาคำขวัญวันเด็กของนายกรัฐมนตรี ปี 2545 แทบตกพื้นที่ข่าว คือ การวิจารณ์ถึงวิธีการจัดการเรียนการสอนไชลด์เซ็นเตอร์ของคุณครู มีสภาพไม่ต่างไปจาก ควายเซ็นเตอร์ เนื่องจากครูไม่เข้าใจและยังไม่มีแหล่งเรียนรู้นอกห้องพอที่จะทำให้เข้าถึงการเรียนรู้ด้วยตนเองได้
ผ่านไป 7 ปีตรงกับ 23 ส.ค. 2549 สมศ.เปิดผลการออกประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานรอบแรก พ.ศ. 2544-2548 จำนวน 30,010แห่ง ไม่ได้มาตรฐานขั้นต่ำถึง 20,000 แห่ง และอยู่ขั้นโคม่าหรือ ICU กว่า 15,000 แห่ง
เดือนสิงหาคมที่เพิ่งจะผ่านมาครบ 15 ปี อยากให้ลองทบทวนกันว่า นับแต่ประกาศใช้ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เปลี่ยนรมว.ศธ.และรัฐมนตรีช่วยมาแล้วเท่าใด น่าจะเป็นสถิติสูงสุดในโลก
ส่วนใหญ่เมื่อมาแล้วมักพยายามสร้างให้มีผลงานใหม่ๆ มั่นใจตนเองถึงความรู้ ความเก่งและเฉลียวฉลาดเหนือกว่าคนการศึกษาที่ทำงานมายาวนาน
ก็อย่างที่เห็นและเป็นไป 15 ปี ปฏิรูปการศึกษา มีอะไรที่ไปถึงฝั่งอย่างที่คิดกันมั่ง ช่วยบอกที