ก่อนอื่น ต้องขอออกตัวก่อน …ว่าไม่ได้เกี่ยวข้องอะไรกับบริษัทนี้ หรือธุรกิจ ประเภทนี้ นะครับ
แต่เท่าที่ติดตาม สื่อกระแสหลัก
โดยพยายามฟัง อย่าง ไม่อิงกระแส ไม่มีดราม่า
…ก็ยัง ไม่ค่อยเข้าใจว่า บริษัทเค้าผิด ยังไงนะ
ประเด็นที่ ต้องพิจารณา คือ เป็นแชร์ลูกโซ่ หรือ ธุรกิจขายตรง
แต่ก็ไม่เห็น สื่อแต่ละรายการเจาะลึกตรงนี้…
(ประเด็น การจดทะเบียน หรือคุณภาพสินค้า ยังไม่ค่อยมีข้อมูลตามสื่อ เลยคิดว่าไม่น่าเป็นประเด็นหลัก)
เท่าที่ฟังข่าว เค้าก็มี..
…ผลิตภัณฑ์ขายจริง
…มีการทำตลาด เพื่อโฆษณาขายสินค้าจริง
…ใครขายได้ ก็ได้รับเงินจริง
…บริษัทมีรายได้ จากการขายสินค้าจริง
ส่วนการขายแบบแม่ข่าย ดาวน์ไลน์…ก็เป็นปกติของธุรกิจขายตรง
ถ้าเคสนี้ เข้าข่าย แขร์ลูกโซ่…ผมว่าบริษัทขายตรงอื่น น่าจะหนาวๆร้อนๆ เลยนะ
ตรงกันข้ามสื่อ กลับเน้นไปที่ …ดราม่าฝั่งผู้เสียหาย
พยายามขยี้ถามว่าสูญเงินไปเท่าไร เสียใจมากมั้ย
แต่เท่าที่ฟัง…
ผู้เสียหาย…คือผู้ที่ลงทุนไปแล้ว ได้ของมาขาย
…แต่ขายไม่ได้ ทำให้ขาดทุน
แต่ถ้าเค้าขายได้ ก็จะได้รับเงิน และมีรายได้ เหมือนคนอื่นๆ
ประเด็นคือ ..เค้าจ่ายเงินแล้ว ก็ได้รับสินค้าตามจำนวนจริง ไม่ถูกเบี้ยว
…และถ้าขายได้ ก็จะได้รับเงินจริง ตามจำนวนที่ตกลงกันไว้
ผมเลยสงสัยว่า…ทำไม ถึงเรียกว่า ผู้เสียหาย
เพราะเคสนี้ ไม่เหมือนกับเคสอื่น เช่น ลงทุนซื้อเฟรนไชส์ลูกชิ้น แต่ไม่ได้เครื่องทำลูกชิ้น หรือซื้อทอง แล้วได้ทอง ไม่ตรงตามน้ำหนัก เป็นต้น
แต่เคสนี้...
ลงทุน…ซื้อของมา
ขายได้ก็รวย…ขายไม่ได้ ก็เจ๊ง
ซึ่งมันเป็นธรรมดาของธุรกิจ …ไม่น่ามีอะไรซับซ้อน
สิ่งที่ผมมองว่า อาจจะผิด…ก็คือ การขายฝัน
ทำให้ผู้เข้ามาลงทุน เข้าใจผิด …ว่าจะรวย ได้ง่ายๆ
ซึ่งการพูดแต่เรื่องดีๆ แบบนี้
เราก็พบเห็นได้ ในธุรกิจขายตรง การขายเฟรนไชส์ หรือแม้แต่ ในตลาดหุ้น
สุดท้ายผมคิดว่า …สิ่งที่เราควรศึกษา จับตาดู หรือได้รับประโยชน์จากเคสนี้คือ…
จริงๆ แล้ว…
ธุรกิจแบบไหน ที่เราควรระวัง ว่าจะเป็นแชร์ลูกโซ่ หรือ แบบไหนเป็นธุรกิจขายตรง ที่เป็นทางเลือกในการสร้างรายได้
มากกว่า…เสพกระแสดราม่า ที่มาพร้อมกับอารมณ์ หมั่นไส้คนรวย เห็นใจคนเจ๊ง
นอกจากนี้เคสนี้ เป็นกระแสดัง
ผลการตัดสินคดี…จะถูกนำไปเป็นบรรทัดฐาน ในอนาคต
และมีผลกับ ธุรกิจขายตรงหลายบริษัท แน่นอน
.
ดิ ไอคอน…ถ้าดูเรื่องกฏหมายอย่างเดียว ไม่ตามกระแส…ผิดมั้ย
แต่เท่าที่ติดตาม สื่อกระแสหลัก
โดยพยายามฟัง อย่าง ไม่อิงกระแส ไม่มีดราม่า
…ก็ยัง ไม่ค่อยเข้าใจว่า บริษัทเค้าผิด ยังไงนะ
ประเด็นที่ ต้องพิจารณา คือ เป็นแชร์ลูกโซ่ หรือ ธุรกิจขายตรง
แต่ก็ไม่เห็น สื่อแต่ละรายการเจาะลึกตรงนี้…
(ประเด็น การจดทะเบียน หรือคุณภาพสินค้า ยังไม่ค่อยมีข้อมูลตามสื่อ เลยคิดว่าไม่น่าเป็นประเด็นหลัก)
เท่าที่ฟังข่าว เค้าก็มี..
…ผลิตภัณฑ์ขายจริง
…มีการทำตลาด เพื่อโฆษณาขายสินค้าจริง
…ใครขายได้ ก็ได้รับเงินจริง
…บริษัทมีรายได้ จากการขายสินค้าจริง
ส่วนการขายแบบแม่ข่าย ดาวน์ไลน์…ก็เป็นปกติของธุรกิจขายตรง
ถ้าเคสนี้ เข้าข่าย แขร์ลูกโซ่…ผมว่าบริษัทขายตรงอื่น น่าจะหนาวๆร้อนๆ เลยนะ
ตรงกันข้ามสื่อ กลับเน้นไปที่ …ดราม่าฝั่งผู้เสียหาย
พยายามขยี้ถามว่าสูญเงินไปเท่าไร เสียใจมากมั้ย
แต่เท่าที่ฟัง…
ผู้เสียหาย…คือผู้ที่ลงทุนไปแล้ว ได้ของมาขาย
…แต่ขายไม่ได้ ทำให้ขาดทุน
แต่ถ้าเค้าขายได้ ก็จะได้รับเงิน และมีรายได้ เหมือนคนอื่นๆ
ประเด็นคือ ..เค้าจ่ายเงินแล้ว ก็ได้รับสินค้าตามจำนวนจริง ไม่ถูกเบี้ยว
…และถ้าขายได้ ก็จะได้รับเงินจริง ตามจำนวนที่ตกลงกันไว้
ผมเลยสงสัยว่า…ทำไม ถึงเรียกว่า ผู้เสียหาย
เพราะเคสนี้ ไม่เหมือนกับเคสอื่น เช่น ลงทุนซื้อเฟรนไชส์ลูกชิ้น แต่ไม่ได้เครื่องทำลูกชิ้น หรือซื้อทอง แล้วได้ทอง ไม่ตรงตามน้ำหนัก เป็นต้น
แต่เคสนี้...
ลงทุน…ซื้อของมา
ขายได้ก็รวย…ขายไม่ได้ ก็เจ๊ง
ซึ่งมันเป็นธรรมดาของธุรกิจ …ไม่น่ามีอะไรซับซ้อน
สิ่งที่ผมมองว่า อาจจะผิด…ก็คือ การขายฝัน
ทำให้ผู้เข้ามาลงทุน เข้าใจผิด …ว่าจะรวย ได้ง่ายๆ
ซึ่งการพูดแต่เรื่องดีๆ แบบนี้
เราก็พบเห็นได้ ในธุรกิจขายตรง การขายเฟรนไชส์ หรือแม้แต่ ในตลาดหุ้น
สุดท้ายผมคิดว่า …สิ่งที่เราควรศึกษา จับตาดู หรือได้รับประโยชน์จากเคสนี้คือ…
จริงๆ แล้ว…
ธุรกิจแบบไหน ที่เราควรระวัง ว่าจะเป็นแชร์ลูกโซ่ หรือ แบบไหนเป็นธุรกิจขายตรง ที่เป็นทางเลือกในการสร้างรายได้
มากกว่า…เสพกระแสดราม่า ที่มาพร้อมกับอารมณ์ หมั่นไส้คนรวย เห็นใจคนเจ๊ง
นอกจากนี้เคสนี้ เป็นกระแสดัง
ผลการตัดสินคดี…จะถูกนำไปเป็นบรรทัดฐาน ในอนาคต
และมีผลกับ ธุรกิจขายตรงหลายบริษัท แน่นอน
.