อ่านแล้วบอกได้คำเดียว 7-11 Gooddddddddddddd
คุณสมบัติ 45 ล้านคน
มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
มีสัญชาติไทย
มีอายุ 16 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ณ วันที่ปิดรับลงทะเบียนคือ 15 กันยายน 2567
เป็นผู้ที่มีรายได้ไม่เกิน 840,000 บาท สำหรับปีภาษี 2566 โดยกรมสรรพากรประมวลผลข้อมูล 7 วันก่อนเปิดการลงทะเบียน
ไม่เป็นผู้มีเงินฝากกับธนาคารพาณิชย์ และสถาบันการเงินเฉพาะกิจรวมกันเกินกว่า 500,000 บาท โดยจะตรวจสอบข้อมูลเงินฝาก 6 ประเภท เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจำ บัตรเงินฝาก ใบรับเงินฝาก และผลิตภัณฑ์เงินฝากในชื่อเรียกอื่นใดที่มีลักษณะเดียวกัน ทั้งนี้ หมายถึงในรูปเงินบาทเท่านั้น และไม่รวมเงินฝากในบัญชีร่วม โดยกำหนดวันตรวจสอบสิทธิ 31 มีนาคม 2567
ไม่เป็นผู้ที่อยู่ต้องโทษจำคุกในเรือนจำ
ไม่เป็นผู้ที่ถูกระงับสิทธิ หรือถูกเรียกเงินคืนในมาตรการและโครงการอื่น ๆ ของรัฐ
ไม่เป็นผู้ที่ฝ่าฝืนเงื่อนไขของมาตรการและโครงการอื่น ๆ ของรัฐ
กำหนดการ
ลงทะเบียนสำหรับประชาชนทั่วไปผ่านแอป “ทางรัฐ” ของคนที่มีสมาร์ทโฟน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม-15 กันยายน 2567 ทั้งนี้ ไม่จำกัดจำนวนประชาชนที่ใช้สิทธิ โดยประมาณว่ามี 45-50 ล้านคน
ลงทะเบียนของประชาชนที่ไม่มีสมาร์ทโฟน ตั้งแต่ 16 กันยายน-15 ตุลาคม 2567 ซึ่งจะต้องตรวจสอบคุณสมบัติสถานะบุคคลตามทะเบียนบ้าน โดยสามารถใช้จ่ายโดยใช้บัตรประชาชน แต่จะมีข้อจำกัดที่มากกว่าในการใช้ เช่น จะต้องใช้กับร้านค้าที่เปิดบริการสมาร์ทโฟนในขณะที่มีการแลกเปลี่ยนเท่านั้น เพราะต้องมีการยืนยันสถานที่และซื้อขายแบบซึ่งหน้า โดยทุกครั้งที่มีการซื้อขายจะต้องมีการบันทึกภาพของผู้ที่นำบัตรประชาชนไปใช้ เพื่อตรวจสอบว่าเป็นเจ้าของบัตรจริง ๆ
การลงทะเบียนร้านค้า 1 ตุลาคม 2567 เป็นต้นไป ซึ่งรายละเอียดจะมีการนำเสนออีกครั้งหนึ่ง
ร้านค้าที่เข้าร่วมโครงการ คาดว่ามีไม่ต่ำกว่า 2 ล้านร้านค้า แบ่งเป็น
กลุ่มนิติบุคคลที่จดทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้ากับกระทรวงพาณิชย์ 910,000 ร้านค้า
ร้านธงฟ้า 198,000 ร้านค้า
ร้านค้าโชห่วย หาบเร่ แผงลอย ตลาดนัด ต้องขึ้นทะเบียนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย คาดว่า 400,000 ร้านค้า
กลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน สหกรณ์ ขึ้นทะเบียนกับกระทรวงเกษตรฯ 93,000 ร้านค้า
ห้างค้าส่ง ค้าปลีก ร้านสะดวกซื้อ ซึ่งขึ้นทะเบียนกับสมาคมค้าปลีกไทย 50,000 ร้าน
ร้านค้าในเครือข่าย ร้านค้าในห้างสรรพสินค้า ซึ่งขึ้นทะเบียนกับสมาคมค้าปลีกไทย 500,000 ร้านค้า
การใช้จ่าย
ไตรมาส 4 ของปี 2567
เงื่อนไขใช้จ่าย
ประชาชนจะสามารถใช้จ่ายกับร้านค้าขนาดเล็ก ร้านสะดวกซื้อเท่านั้น ไม่รวมห้างสรรพสินค้า ห้างค้าปลีก ค้าส่งขนาดใหญ่ระดับประเทศ หรือระดับท้องถิ่น โดยจะต้องซื้อสินค้าในอำเภอ ตามที่อยู่ในทะเบียนบ้าน
ร้านค้า กับ ร้านค้า ทั้งนี้ ร้านค้าทุกประเภทซื้อขายสินค้าระหว่างกันได้ ไม่มีกำหนดเงื่อนไขว่าจะต้องซื้อแบบซึ่งหน้า ซื้อขายด้วยกันได้แม้อยู่ต่างพื้นที่
ประเภทสินค้า
สินค้าทุกประเภทสามารถเข้าร่วมโครงการได้ ยกเว้น สลากกินแบ่งรัฐบาล เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ผลิตภัณฑ์ยาสูบ กัญชา กระท่อม ผลิตภัณฑ์กัญชา และกระท่อม บัตรกำนัล บัตรเงินสด ทองคำ เพชรพลอย อัญมณี น้ำมันเชื้อเพลิง ก๊าซธรรมชาติ เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องมือสื่อสาร ทั้งนี้ กระทรวงพาณิชย์อาจปรับปรุงได้ และการใช้จ่ายไม่รวมถึงภาคการบริการ
ที่มา
https://www.prachachat.net/politics/news-1614688
เปิดเงื่อนไข แจกเงินดิจิทัล 10,000 บาท อัพเดตล่าสุด(24 ก.ค. 67)
คุณสมบัติ 45 ล้านคน
มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
มีสัญชาติไทย
มีอายุ 16 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ณ วันที่ปิดรับลงทะเบียนคือ 15 กันยายน 2567
เป็นผู้ที่มีรายได้ไม่เกิน 840,000 บาท สำหรับปีภาษี 2566 โดยกรมสรรพากรประมวลผลข้อมูล 7 วันก่อนเปิดการลงทะเบียน
ไม่เป็นผู้มีเงินฝากกับธนาคารพาณิชย์ และสถาบันการเงินเฉพาะกิจรวมกันเกินกว่า 500,000 บาท โดยจะตรวจสอบข้อมูลเงินฝาก 6 ประเภท เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจำ บัตรเงินฝาก ใบรับเงินฝาก และผลิตภัณฑ์เงินฝากในชื่อเรียกอื่นใดที่มีลักษณะเดียวกัน ทั้งนี้ หมายถึงในรูปเงินบาทเท่านั้น และไม่รวมเงินฝากในบัญชีร่วม โดยกำหนดวันตรวจสอบสิทธิ 31 มีนาคม 2567
ไม่เป็นผู้ที่อยู่ต้องโทษจำคุกในเรือนจำ
ไม่เป็นผู้ที่ถูกระงับสิทธิ หรือถูกเรียกเงินคืนในมาตรการและโครงการอื่น ๆ ของรัฐ
ไม่เป็นผู้ที่ฝ่าฝืนเงื่อนไขของมาตรการและโครงการอื่น ๆ ของรัฐ
กำหนดการ
ลงทะเบียนสำหรับประชาชนทั่วไปผ่านแอป “ทางรัฐ” ของคนที่มีสมาร์ทโฟน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม-15 กันยายน 2567 ทั้งนี้ ไม่จำกัดจำนวนประชาชนที่ใช้สิทธิ โดยประมาณว่ามี 45-50 ล้านคน
ลงทะเบียนของประชาชนที่ไม่มีสมาร์ทโฟน ตั้งแต่ 16 กันยายน-15 ตุลาคม 2567 ซึ่งจะต้องตรวจสอบคุณสมบัติสถานะบุคคลตามทะเบียนบ้าน โดยสามารถใช้จ่ายโดยใช้บัตรประชาชน แต่จะมีข้อจำกัดที่มากกว่าในการใช้ เช่น จะต้องใช้กับร้านค้าที่เปิดบริการสมาร์ทโฟนในขณะที่มีการแลกเปลี่ยนเท่านั้น เพราะต้องมีการยืนยันสถานที่และซื้อขายแบบซึ่งหน้า โดยทุกครั้งที่มีการซื้อขายจะต้องมีการบันทึกภาพของผู้ที่นำบัตรประชาชนไปใช้ เพื่อตรวจสอบว่าเป็นเจ้าของบัตรจริง ๆ
การลงทะเบียนร้านค้า 1 ตุลาคม 2567 เป็นต้นไป ซึ่งรายละเอียดจะมีการนำเสนออีกครั้งหนึ่ง
ร้านค้าที่เข้าร่วมโครงการ คาดว่ามีไม่ต่ำกว่า 2 ล้านร้านค้า แบ่งเป็น
กลุ่มนิติบุคคลที่จดทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้ากับกระทรวงพาณิชย์ 910,000 ร้านค้า
ร้านธงฟ้า 198,000 ร้านค้า
ร้านค้าโชห่วย หาบเร่ แผงลอย ตลาดนัด ต้องขึ้นทะเบียนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย คาดว่า 400,000 ร้านค้า
กลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน สหกรณ์ ขึ้นทะเบียนกับกระทรวงเกษตรฯ 93,000 ร้านค้า
ห้างค้าส่ง ค้าปลีก ร้านสะดวกซื้อ ซึ่งขึ้นทะเบียนกับสมาคมค้าปลีกไทย 50,000 ร้าน
ร้านค้าในเครือข่าย ร้านค้าในห้างสรรพสินค้า ซึ่งขึ้นทะเบียนกับสมาคมค้าปลีกไทย 500,000 ร้านค้า
การใช้จ่าย
ไตรมาส 4 ของปี 2567
เงื่อนไขใช้จ่าย
ประชาชนจะสามารถใช้จ่ายกับร้านค้าขนาดเล็ก ร้านสะดวกซื้อเท่านั้น ไม่รวมห้างสรรพสินค้า ห้างค้าปลีก ค้าส่งขนาดใหญ่ระดับประเทศ หรือระดับท้องถิ่น โดยจะต้องซื้อสินค้าในอำเภอ ตามที่อยู่ในทะเบียนบ้าน
ร้านค้า กับ ร้านค้า ทั้งนี้ ร้านค้าทุกประเภทซื้อขายสินค้าระหว่างกันได้ ไม่มีกำหนดเงื่อนไขว่าจะต้องซื้อแบบซึ่งหน้า ซื้อขายด้วยกันได้แม้อยู่ต่างพื้นที่
ประเภทสินค้า
สินค้าทุกประเภทสามารถเข้าร่วมโครงการได้ ยกเว้น สลากกินแบ่งรัฐบาล เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ผลิตภัณฑ์ยาสูบ กัญชา กระท่อม ผลิตภัณฑ์กัญชา และกระท่อม บัตรกำนัล บัตรเงินสด ทองคำ เพชรพลอย อัญมณี น้ำมันเชื้อเพลิง ก๊าซธรรมชาติ เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องมือสื่อสาร ทั้งนี้ กระทรวงพาณิชย์อาจปรับปรุงได้ และการใช้จ่ายไม่รวมถึงภาคการบริการ
ที่มา https://www.prachachat.net/politics/news-1614688