.
แมลงน้ำมักจะมีชื่อเสียงว่า
มีชีวิตสั้นมากเพียงแค่วันเดียว
แต่เรื่องนี้ไม่ใช่เป็นความจริงเลย
แม้ว่าคนเรามักจะถูกสั่งสอนกันว่า
ชีวิตนั้นสั้นเกินไป
และพวกเราควรจะ
คว้าโอกาสนี้ไว้
แต่เมื่อเปรียบเทียบกับสัตว์โลกอื่น ๆ แล้ว
คนเรามีเวลาชีวิตยาวนานกว่าสัตว์อื่น ๆ มาก
สัตว์ชนิดใดที่มีอายุสั้นที่สุด
ชนิดของสัตว์แม้ว่ามันยากมาก
ที่จะสรุปได้อย่างแน่นอนในตอนนี้
เพราะชีวิตที่จบลงไปอย่างรวดเร็ว
กลายเป็นเรื่องยากสำหรับนักวิจัย
ที่จะทำการศึกษาได้อย่างละเอียด
และยังมีสัตว์อีกจำนวนมากมาย
ที่ยังคงรอการค้นพบ/หาคำตอบนี้
แต่แมลงปอ/แมลงน้ำ
กลายเป็นคู่แข่งตัวเบ้ง(ใหญ่/แข็งแกร่ง)
สำหรับสัตว์ที่มีอายุสั้นที่สุด
แมลงน้ำเหล่านี้ฟักออกจากไข่
กลายเป็นตัวอ่อน Nymphs (คล้ายลูกน้ำ)
และอาศัยอยู่ใต้น้ำได้นานถึงสองปี
จากนั้นพวกมันจะพัฒนาปีกในระยะสุดท้าย
กลายเป็นตัวรองตัวเต็มวัย Subimago
แล้วตัวเต็มวัย Imago ของวงจรชีวิตแมลง
คือการเริ่มตันหาคู่ผสมพันธุ์กัน
หลังจากตัวเมียวางไข่ในน้ำ
ทุกตัวจะเริ่มตายเหม็ด(หมด) ทั้งตัวผู้ตัวเมีย
แมลงน้ำหลายชนิดมีชีวิตสั้นมาก
บางชนิดอยู่ได้น้อยกว่า 24 ชั่วโมง
ในรูปแบบมีปีก(ตัวเต็มวัย)
ในขณะที่บางชนิดอยู่ได้ไม่ถึง 5 นาทีด้วยซ้ำ
" แมลงน้ำส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลง
จากน้ำสู่บกและอากาศในระยะตัวรองเต็มวัย
แล้วแพร่พันธุ์ในระยะตัวเต็มวัย
พวกมันไม่มีปากหรือระบบย่อยอาหาร
ที่ใช้งานได้ในขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งในตอนนี้
อาศัยพลังงานสำรองที่สร้างขึ้นมา
ในตอนเป็นตัวอ่อน Nymphs
เพราะระบบย่อยอาหารมีขนาดไม่ใหญ่
เพศเมียจึงมีพื้นที่สำหรับวางไข่ในตัวมากขึ้น
ผมเคยเห็นแมลงตัวหนึ่งเต็มไปด้วยไข่
จนมีไข่อยู่ในหัวของมันด้วยซ้ำ
บางครั้งมีมากกว่า 10,000 ฟองต่อตัวเมีย 1 ตัว
พวกมันสามารถใช้ชีวิตวัยผู้ใหญ่
อันแสนสั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล
เช่นเดียวกับแมลงน้ำสายพันธุ์อื่น ๆ
ที่มีชีวิตอยู่รอดและตายเร็ว
แมลงเม่าน้ำตกเป็นเหยื่ออย่างหนัก
(ปลายห่วงโซ่ของอาหารในวงจรสัตว์โลก)
และจำเป็นต้องออกลูกจำนวนมาก
เพื่อให้มีชีวิตรอดจนโตเต็มวัยและแพร่พันธุ์ได้
แต่แทนที่จะตังคำถามว่า
ทำไม แมลงน้ำถึงมีชีวิตสั้น
แต่ควรเปลี่ยนคำถามว่า
ทำไมจะไม่ได้ ทำไม่ถึงเป็นเช่นนั้น
เพราะฟอสซิลแมลงน้ำโบราณ
ก็ไม่ได้แตกต่างไปจาก
ที่เราเห็นในปัจจุบันมากนัก ”
Luke Jacobus นักวิจัยแมลงน้ำ
และศาตราจารย์ด้านชีววิทยา
Purdue University Columbus
ให้สัมภาษณ์ทางอีเมลกับ Live Science
.
.
“ ระบบของพวกมันทำงานได้อย่างดีมาก
แมลงเหล่านี้ปรากฏตัวครั้งแรกในโลก
เมื่อประมาณ 350 ล้านปีก่อน
พวกมันเป็นนักวิวัฒนาการ
และปรับปรุงสายเลือดแมลงพวกนี้
ในวิวัฒนาการยังพบว่า
การที่แมลงน้ำใช้เวลามากขึ้น
ในฐานะตัวอ่อนเป็นกลยุทธ์ที่ดีจริง ๆ
ดูเหมือนว่าวิวัฒนาการของแมลงน้ำ
พวกมันได้ตัดสินใจแล้วว่า
จะทำทุกอย่างเท่าที่จำเป็น
ในการรวบรวมสารอาหารในฐานะตัวอ่อน
และเมื่อโตเต็มวัยก็มีเพียงกลไกในการบิน
ออกไปเพื่อการสืบพันธุ์ วางไข่ ก่อนตาย
(วนเวียนเป็นวัฏจักร/วงจรชีวิต) ”
Heath Ogden
ศาสตราจารย์ด้านชีววิทยาวิวัฒนาการ
ผู้ศึกษาวิวัฒนาการของแมลงน้ำ
ที่ Utah Valley Utah Valley University
ให้สัมภาษณ์กับ Live Science
.
.
.
.
.
Dolania americana © Greg Courtney
.

.
.
.
แมลงเม่าขุดทรายอเมริกัน
Dolania americana
มีอายุสั้นที่สุดในบรรดาสายพันธุ์ที่บันทึกไว้
ตัวผู้จะมีชีวิตได้ไม่ถึงหนึ่งชั่วโมงเมื่อโตเต็มวัย
และตัวเมียมีเวลาเพียงห้านาที
ในการผสมพันธุ์/วางไข่ก่อนที่จะตาย
แต่แมลงเม่าขุดทรายอเมริกัน
ก็ยังคงใช้เวลาเป็นตัวอ่อนถึงสองปี
ก่อนที่พวกมันจะโตเต็มวัยในช่วงสั้น ๆ
ตามรายงานของ
Biodiversity Portal
Georgia Department of Natural Resources
.
.
.
.
The seven figure pygmy goby
(
Eviota sigillata) มีอายุสั้นที่สุด
ในบรรดาสัตว์มีกระดูกสันหลัง
© Marli Wakeling / Alamy
.

.
.
.
ปลาบู่แคระเจ็ดร่าง
Eviota sigillata
วงจรชีวิตทั้งหมดจะสมบูรณ์ภายในสองเดือน
และมีช่วงชีวิตที่สั้นที่สุด
ในบรรดาสัตว์มีกระดูกสันหลังที่รู้จักกัน
ตามข้อมูลของพิพิธภัณฑ์
Australian Museum
ปลาจะใช้เวลาสามสัปดาห์
ในรูปแบบตัวอ่อนในมหาสมุทรเปิด
จากนั้นพวกมันจะอาศัยอยู่ตามแนวปะการัง
เป็นเวลาหนึ่งหรือสองสัปดาห์ก่อนที่จะโตเต็มที่
ก่อนที่จะใช้ชีวิตวัยเจริญพ้ันธุ์
ได้ไม่เกินสามสัปดาห์ครึ่งก่อนตาย
ตามรายงานในบทความปี 2005
ในวารสาร
Current Biology
.
เรียบเรียง/ที่มา
https://bit.ly/3Ruc5yP
.
.
หมายเหตุ
แมงเม่าบินเข้ากองไฟ อาจจะมาจาก
แมลงส่วนใหญ่ก็ชอบแสงไฟในเวลากลางคืน
มักเป็นแมลงที่พบได้เฉพาะเวลากลางคืน
อย่างเช่น ผีเสื้อกลางคืน (Moth)
แต่ถ้าพวกมันชอบแสงไฟ
ทำไมมันไม่หากินเวลากลางวัน
ซึ่งสว่างกว่าเป็นไหน ๆ แทน
ทำไมต้องออกหากินในเวลากลางคืน
จนถึงทุกวันนี้ก็ยังไม่มีคำตอบที่ชัดเจน
มีหลายทฤษฎีและมีความเป็นไปได้
ที่จะเป็นเรื่องจริงเพราะมีหลักฐานสนับสนุน
ที่น่าเชื่อถืออยู่ไม่มากก็น้อย นั้นคือ
พวกมันทำไปเพราะแสงไฟเหล่านั้น
ทำให้พฤติกรรม/สัญชาติญาณทางธรรมชาติ
ของแมลงเปลี๊ยนไป่จากแสงไฟหลอกล่อ
สัญชาตญาณเคลื่อนที่โดยใช้ประโยชน์
จากแสงของดวงจันทร์ในเวลากลางคืน
คือ พฤติกรรมเคลื่อนที่เข้าหาแสง
(Positively Phototactic)
ดังนั้น เมื่อพวกมันพบกับแสงที่สว่างกว่า
พวกมันจึงพุ่งเข้าหาแหล่งกำเนิดแสงใหม่
อย่างกองไฟ หรือแสงจากหลอดไฟแทน
เชื่อกันว่าแมลงที่หากินเวลากลางคืนเหล่านี้
เดินทางโดยพึ่งพาแสงจากดวงจันทร์
โดยทำมุมองศาที่ถูกต้องกับแหล่งกำเนิดแสง
เพื่อให้สามารถเดินทางอพยพย้ายถิ่น
ได้ถูกต้องตามเส้นทางที่ไปแหล่งอาหาร
แหล่งรวมบ่าวสาววัยเจริญพันธุ์มาพบปะกัน
ดังนั้น เมื่อพวกมันเจอหลอดไฟ
พวกมันจึงต้องปรับเส้นทางการบินใหม่
และแหล่งกำเนิดแสงเหล่านี้
ก็สว่างกว่าปกติมาก
จึงทำให้การบินของพวกมันผิดพลาด
พุ่งตัวเข้าหาหลอดไฟหรือกองไฟแทน
(จนหลายบ้านต้องปิดแสงสว่างในบางเวลา)
ปัญหาคือ ไม่ใช่แมลงทุกชนิด
ที่บินเข้าหาหลอดไฟหรือกองไฟ
จะเป็นแมลงที่กำลังอพยพย้ายถิ่นฐานทั้งหมด
ทฤษฎีนี้จึงไม่สามารถใช้ได้กับแมลงทุกตัว
นักกีฏวิทยาเองก็ได้เสนออีกทฤษฎีว่า
แสงเป็นหนึ่งสัญญาณที่บ่งบอกว่า
บริเวณนั้น/ตำแหน่งนั้นสามารถผ่านไปได้
หรือเป็นทางเปิดโล่ง ไม่มีอุปสรรคขวางกั้น
ดังนั้น การเดินทางไปยังจุดกำเนิดแสง
จึงเป็นการการันตีว่าจะไม่ชนเข้ากับสิ่งของ
ต้นไม้ หรือสิ่งปลูกสร้างอะไร
พวกแมลงจึงมั่นใจได้ว่า
บินเข้าหาแสงนั้นปลอดภัย
แน่นอนว่ามันเป็นสิ่งดีที่จะพุ่งเข้าหาแสง
ถ้าหากเป็นคนที่กำลังหลงทางอยู่ในที่มืด
หรือหลงทางในถ้ำที่มืดมิดไร้แสงสว่าง
การเคลื่อนตัวเข้าหาแสงคือ คำตอบที่ดีที่สุด
ในสถานการณ์คับขันแบบนี้
(ทุกวันนี้ในเมืองหาความมืดยากที่สุดแล้ว
มีผลต่อการดูดวงดาวบนฟากฟ้าเช่นกัน
เพราะแสงสว่างจากในเมืองสะท้อนท้องฟ้า
จขกท.เคยเจอความมืดมิดที่ถ้ำภูผาเพชร/สตูล
แม้ว่าจะอยู่กันหลายคนก็ยังป๊อดแหก(กลัวผี)
เพราะคนนำทางดับไฟฉาย/เทียนไขทุกดวง
เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้เจอกับความมืดมิด)
แน่นอนว่าไม่มีใครบอกพวกแมลงเหล่านั้นว่า
อันที่จริงแหล่งกำเนิดแสงที่อยู่ใกล้มากนั้น
พวกมันคิดผิดและอาจทำให้พวกมันตายได้
ถึงแม้ว่าในตอนนี้จะยังไม่รู้แน่ชัดว่า
อะไรคือสาเหตุที่ทำให้แมลงกลางคืน
แมลงเหล่านี้ต้องพุ่งตัวเข้าหาแสงไฟ
แต่ที่แน่ใจได้คือพวกมันไม่ได้ตั้งใจฆ่าตัวตาย
พวกมันก็ไม่ได้ตั้งใจจะทำให้หลอดไฟหน้ารถ
บ้านหรือรถยนต์เลอะเทอะเวลากลางคืน
เรื่องนี้ยังคงมีเรื่องราว ทฤษฎี
และการศึกษาอีกมากมายเพื่อหาคำตอบ
คำตอบของปริศนานี้ก็อาจจะทำให้คนเรา
เข้าใจถึงพฤติกรรมของแมลงต่าง ๆ
และสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในโลกเราได้ดีขึ้น
และอาจจะทำให้คนเราเข้าใจ
ถึงพฤติกรรมของคนเราได้ดีขึ้นอีกด้วย
©
ทำไมแมลงเม่าบินเข้ากองไฟ
.
.
เรื่องเล่าไร้สาระ
แมงเม่าบินเข้ากองไฟ
Like a moth to a flame.
นัยคนที่ลุ่มหลง/หลงผิดคิดว่าดี
และเข้าไปยุ่งเกี่ยวด้วยจนมีภัย
วลีในกลุ่มนักเล่นหุ้นมืออาภัพ/มืออาชีพ
ทึ่ติดดอยในหุ้นจนได้กันเป็นแสน ๆ
แสนสาหัสสากรรจ์/ทุกข์อย่างแรง
แต่ทุกวันนี้กองไฟแบบในอดีตหายาก
แมงเม่าเลยบินเข้าหาหลอดไฟประเภทต่าง ๆ
หลอด Black light ใช้ล่อแมลงเข้ามา
พอเข้ามามีทั้งแบบชอร์ต หรือดักรวบรวมไว้
เพื่อเก็บไปทำลายทิ้ง/อาหารสัตว์
สัตว์ชนิดใดที่มีอายุสั้นที่สุด
.
แมลงปอ Palingenia longicauda
ในแม่น้ำ Tisza ในยุโรป
© Nastasic via Getty Images
.
แมลงน้ำมักจะมีชื่อเสียงว่า
มีชีวิตสั้นมากเพียงแค่วันเดียว
แต่เรื่องนี้ไม่ใช่เป็นความจริงเลย
แม้ว่าคนเรามักจะถูกสั่งสอนกันว่า
ชีวิตนั้นสั้นเกินไป
และพวกเราควรจะ คว้าโอกาสนี้ไว้
แต่เมื่อเปรียบเทียบกับสัตว์โลกอื่น ๆ แล้ว
คนเรามีเวลาชีวิตยาวนานกว่าสัตว์อื่น ๆ มาก
สัตว์ชนิดใดที่มีอายุสั้นที่สุด
ชนิดของสัตว์แม้ว่ามันยากมาก
ที่จะสรุปได้อย่างแน่นอนในตอนนี้
เพราะชีวิตที่จบลงไปอย่างรวดเร็ว
กลายเป็นเรื่องยากสำหรับนักวิจัย
ที่จะทำการศึกษาได้อย่างละเอียด
และยังมีสัตว์อีกจำนวนมากมาย
ที่ยังคงรอการค้นพบ/หาคำตอบนี้
แต่แมลงปอ/แมลงน้ำ
กลายเป็นคู่แข่งตัวเบ้ง(ใหญ่/แข็งแกร่ง)
สำหรับสัตว์ที่มีอายุสั้นที่สุด
แมลงน้ำเหล่านี้ฟักออกจากไข่
กลายเป็นตัวอ่อน Nymphs (คล้ายลูกน้ำ)
และอาศัยอยู่ใต้น้ำได้นานถึงสองปี
จากนั้นพวกมันจะพัฒนาปีกในระยะสุดท้าย
กลายเป็นตัวรองตัวเต็มวัย Subimago
แล้วตัวเต็มวัย Imago ของวงจรชีวิตแมลง
คือการเริ่มตันหาคู่ผสมพันธุ์กัน
หลังจากตัวเมียวางไข่ในน้ำ
ทุกตัวจะเริ่มตายเหม็ด(หมด) ทั้งตัวผู้ตัวเมีย
แมลงน้ำหลายชนิดมีชีวิตสั้นมาก
บางชนิดอยู่ได้น้อยกว่า 24 ชั่วโมง
ในรูปแบบมีปีก(ตัวเต็มวัย)
ในขณะที่บางชนิดอยู่ได้ไม่ถึง 5 นาทีด้วยซ้ำ
" แมลงน้ำส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลง
จากน้ำสู่บกและอากาศในระยะตัวรองเต็มวัย
แล้วแพร่พันธุ์ในระยะตัวเต็มวัย
พวกมันไม่มีปากหรือระบบย่อยอาหาร
ที่ใช้งานได้ในขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งในตอนนี้
อาศัยพลังงานสำรองที่สร้างขึ้นมา
ในตอนเป็นตัวอ่อน Nymphs
เพราะระบบย่อยอาหารมีขนาดไม่ใหญ่
เพศเมียจึงมีพื้นที่สำหรับวางไข่ในตัวมากขึ้น
ผมเคยเห็นแมลงตัวหนึ่งเต็มไปด้วยไข่
จนมีไข่อยู่ในหัวของมันด้วยซ้ำ
บางครั้งมีมากกว่า 10,000 ฟองต่อตัวเมีย 1 ตัว
พวกมันสามารถใช้ชีวิตวัยผู้ใหญ่
อันแสนสั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล
เช่นเดียวกับแมลงน้ำสายพันธุ์อื่น ๆ
ที่มีชีวิตอยู่รอดและตายเร็ว
แมลงเม่าน้ำตกเป็นเหยื่ออย่างหนัก
(ปลายห่วงโซ่ของอาหารในวงจรสัตว์โลก)
และจำเป็นต้องออกลูกจำนวนมาก
เพื่อให้มีชีวิตรอดจนโตเต็มวัยและแพร่พันธุ์ได้
แต่แทนที่จะตังคำถามว่า
ทำไม แมลงน้ำถึงมีชีวิตสั้น
แต่ควรเปลี่ยนคำถามว่า
ทำไมจะไม่ได้ ทำไม่ถึงเป็นเช่นนั้น
เพราะฟอสซิลแมลงน้ำโบราณ
ก็ไม่ได้แตกต่างไปจาก
ที่เราเห็นในปัจจุบันมากนัก ”
Luke Jacobus นักวิจัยแมลงน้ำ
และศาตราจารย์ด้านชีววิทยา
Purdue University Columbus
ให้สัมภาษณ์ทางอีเมลกับ Live Science
.
.
.
.
.
.
“ ระบบของพวกมันทำงานได้อย่างดีมาก
แมลงเหล่านี้ปรากฏตัวครั้งแรกในโลก
เมื่อประมาณ 350 ล้านปีก่อน
พวกมันเป็นนักวิวัฒนาการ
และปรับปรุงสายเลือดแมลงพวกนี้
ในวิวัฒนาการยังพบว่า
การที่แมลงน้ำใช้เวลามากขึ้น
ในฐานะตัวอ่อนเป็นกลยุทธ์ที่ดีจริง ๆ
ดูเหมือนว่าวิวัฒนาการของแมลงน้ำ
พวกมันได้ตัดสินใจแล้วว่า
จะทำทุกอย่างเท่าที่จำเป็น
ในการรวบรวมสารอาหารในฐานะตัวอ่อน
และเมื่อโตเต็มวัยก็มีเพียงกลไกในการบิน
ออกไปเพื่อการสืบพันธุ์ วางไข่ ก่อนตาย
(วนเวียนเป็นวัฏจักร/วงจรชีวิต) ”
Heath Ogden
ศาสตราจารย์ด้านชีววิทยาวิวัฒนาการ
ผู้ศึกษาวิวัฒนาการของแมลงน้ำ
ที่ Utah Valley Utah Valley University
ให้สัมภาษณ์กับ Live Science
.
.
.
.
Dolania americana © Greg Courtney
.
.
.
แมลงเม่าขุดทรายอเมริกัน
Dolania americana
มีอายุสั้นที่สุดในบรรดาสายพันธุ์ที่บันทึกไว้
ตัวผู้จะมีชีวิตได้ไม่ถึงหนึ่งชั่วโมงเมื่อโตเต็มวัย
และตัวเมียมีเวลาเพียงห้านาที
ในการผสมพันธุ์/วางไข่ก่อนที่จะตาย
แต่แมลงเม่าขุดทรายอเมริกัน
ก็ยังคงใช้เวลาเป็นตัวอ่อนถึงสองปี
ก่อนที่พวกมันจะโตเต็มวัยในช่วงสั้น ๆ
ตามรายงานของ Biodiversity Portal
Georgia Department of Natural Resources
.
.
.
The seven figure pygmy goby
(Eviota sigillata) มีอายุสั้นที่สุด
ในบรรดาสัตว์มีกระดูกสันหลัง
© Marli Wakeling / Alamy
.
.
.
ปลาบู่แคระเจ็ดร่าง Eviota sigillata
วงจรชีวิตทั้งหมดจะสมบูรณ์ภายในสองเดือน
และมีช่วงชีวิตที่สั้นที่สุด
ในบรรดาสัตว์มีกระดูกสันหลังที่รู้จักกัน
ตามข้อมูลของพิพิธภัณฑ์ Australian Museum
ปลาจะใช้เวลาสามสัปดาห์
ในรูปแบบตัวอ่อนในมหาสมุทรเปิด
จากนั้นพวกมันจะอาศัยอยู่ตามแนวปะการัง
เป็นเวลาหนึ่งหรือสองสัปดาห์ก่อนที่จะโตเต็มที่
ก่อนที่จะใช้ชีวิตวัยเจริญพ้ันธุ์
ได้ไม่เกินสามสัปดาห์ครึ่งก่อนตาย
ตามรายงานในบทความปี 2005
ในวารสาร Current Biology
.
เรียบเรียง/ที่มา
https://bit.ly/3Ruc5yP
.
.
.
.
.
เรื่องเดิมที่เกี่ยวกับสัตว์/ห่วงโซ่อาหาร
.
สัตว์อายุยืน
.
.
.
ปลาฉลามกรีนแลนด์เพศเมียอายุยืนที่สุดในโลกราว 400 ปี
.
.
.
ปลา Coelacanth มีอายุได้มากกว่า 100 ปี
.
.
.
นกอายุมากที่สุดในโลกวัย 64 ปีวางไข่อีกครั้ง
.
.
.
แมงกะพรุนห่วงโซ่อาหารที่สำคัญในท้องทะเล
.
.
.
ปลาดาวทะเล นักล่าบนสุดของห่วงโซ่อาหาร
.
.
.
.
แมลงเม่าเหงาใจ
.
.
หมายเหตุ
แมงเม่าบินเข้ากองไฟ อาจจะมาจาก
แมลงส่วนใหญ่ก็ชอบแสงไฟในเวลากลางคืน
มักเป็นแมลงที่พบได้เฉพาะเวลากลางคืน
อย่างเช่น ผีเสื้อกลางคืน (Moth)
แต่ถ้าพวกมันชอบแสงไฟ
ทำไมมันไม่หากินเวลากลางวัน
ซึ่งสว่างกว่าเป็นไหน ๆ แทน
ทำไมต้องออกหากินในเวลากลางคืน
จนถึงทุกวันนี้ก็ยังไม่มีคำตอบที่ชัดเจน
มีหลายทฤษฎีและมีความเป็นไปได้
ที่จะเป็นเรื่องจริงเพราะมีหลักฐานสนับสนุน
ที่น่าเชื่อถืออยู่ไม่มากก็น้อย นั้นคือ
พวกมันทำไปเพราะแสงไฟเหล่านั้น
ทำให้พฤติกรรม/สัญชาติญาณทางธรรมชาติ
ของแมลงเปลี๊ยนไป่จากแสงไฟหลอกล่อ
สัญชาตญาณเคลื่อนที่โดยใช้ประโยชน์
จากแสงของดวงจันทร์ในเวลากลางคืน
คือ พฤติกรรมเคลื่อนที่เข้าหาแสง
(Positively Phototactic)
ดังนั้น เมื่อพวกมันพบกับแสงที่สว่างกว่า
พวกมันจึงพุ่งเข้าหาแหล่งกำเนิดแสงใหม่
อย่างกองไฟ หรือแสงจากหลอดไฟแทน
เชื่อกันว่าแมลงที่หากินเวลากลางคืนเหล่านี้
เดินทางโดยพึ่งพาแสงจากดวงจันทร์
โดยทำมุมองศาที่ถูกต้องกับแหล่งกำเนิดแสง
เพื่อให้สามารถเดินทางอพยพย้ายถิ่น
ได้ถูกต้องตามเส้นทางที่ไปแหล่งอาหาร
แหล่งรวมบ่าวสาววัยเจริญพันธุ์มาพบปะกัน
ดังนั้น เมื่อพวกมันเจอหลอดไฟ
พวกมันจึงต้องปรับเส้นทางการบินใหม่
และแหล่งกำเนิดแสงเหล่านี้
ก็สว่างกว่าปกติมาก
จึงทำให้การบินของพวกมันผิดพลาด
พุ่งตัวเข้าหาหลอดไฟหรือกองไฟแทน
(จนหลายบ้านต้องปิดแสงสว่างในบางเวลา)
ปัญหาคือ ไม่ใช่แมลงทุกชนิด
ที่บินเข้าหาหลอดไฟหรือกองไฟ
จะเป็นแมลงที่กำลังอพยพย้ายถิ่นฐานทั้งหมด
ทฤษฎีนี้จึงไม่สามารถใช้ได้กับแมลงทุกตัว
นักกีฏวิทยาเองก็ได้เสนออีกทฤษฎีว่า
แสงเป็นหนึ่งสัญญาณที่บ่งบอกว่า
บริเวณนั้น/ตำแหน่งนั้นสามารถผ่านไปได้
หรือเป็นทางเปิดโล่ง ไม่มีอุปสรรคขวางกั้น
ดังนั้น การเดินทางไปยังจุดกำเนิดแสง
จึงเป็นการการันตีว่าจะไม่ชนเข้ากับสิ่งของ
ต้นไม้ หรือสิ่งปลูกสร้างอะไร
พวกแมลงจึงมั่นใจได้ว่า
บินเข้าหาแสงนั้นปลอดภัย
แน่นอนว่ามันเป็นสิ่งดีที่จะพุ่งเข้าหาแสง
ถ้าหากเป็นคนที่กำลังหลงทางอยู่ในที่มืด
หรือหลงทางในถ้ำที่มืดมิดไร้แสงสว่าง
การเคลื่อนตัวเข้าหาแสงคือ คำตอบที่ดีที่สุด
ในสถานการณ์คับขันแบบนี้
(ทุกวันนี้ในเมืองหาความมืดยากที่สุดแล้ว
มีผลต่อการดูดวงดาวบนฟากฟ้าเช่นกัน
เพราะแสงสว่างจากในเมืองสะท้อนท้องฟ้า
จขกท.เคยเจอความมืดมิดที่ถ้ำภูผาเพชร/สตูล
แม้ว่าจะอยู่กันหลายคนก็ยังป๊อดแหก(กลัวผี)
เพราะคนนำทางดับไฟฉาย/เทียนไขทุกดวง
เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้เจอกับความมืดมิด)
แน่นอนว่าไม่มีใครบอกพวกแมลงเหล่านั้นว่า
อันที่จริงแหล่งกำเนิดแสงที่อยู่ใกล้มากนั้น
พวกมันคิดผิดและอาจทำให้พวกมันตายได้
ถึงแม้ว่าในตอนนี้จะยังไม่รู้แน่ชัดว่า
อะไรคือสาเหตุที่ทำให้แมลงกลางคืน
แมลงเหล่านี้ต้องพุ่งตัวเข้าหาแสงไฟ
แต่ที่แน่ใจได้คือพวกมันไม่ได้ตั้งใจฆ่าตัวตาย
พวกมันก็ไม่ได้ตั้งใจจะทำให้หลอดไฟหน้ารถ
บ้านหรือรถยนต์เลอะเทอะเวลากลางคืน
เรื่องนี้ยังคงมีเรื่องราว ทฤษฎี
และการศึกษาอีกมากมายเพื่อหาคำตอบ
คำตอบของปริศนานี้ก็อาจจะทำให้คนเรา
เข้าใจถึงพฤติกรรมของแมลงต่าง ๆ
และสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในโลกเราได้ดีขึ้น
และอาจจะทำให้คนเราเข้าใจ
ถึงพฤติกรรมของคนเราได้ดีขึ้นอีกด้วย
© ทำไมแมลงเม่าบินเข้ากองไฟ
.
.
เรื่องเล่าไร้สาระ
แมงเม่าบินเข้ากองไฟ
Like a moth to a flame.
นัยคนที่ลุ่มหลง/หลงผิดคิดว่าดี
และเข้าไปยุ่งเกี่ยวด้วยจนมีภัย
วลีในกลุ่มนักเล่นหุ้นมืออาภัพ/มืออาชีพ
ทึ่ติดดอยในหุ้นจนได้กันเป็นแสน ๆ
แสนสาหัสสากรรจ์/ทุกข์อย่างแรง
แต่ทุกวันนี้กองไฟแบบในอดีตหายาก
แมงเม่าเลยบินเข้าหาหลอดไฟประเภทต่าง ๆ
หลอด Black light ใช้ล่อแมลงเข้ามา
พอเข้ามามีทั้งแบบชอร์ต หรือดักรวบรวมไว้
เพื่อเก็บไปทำลายทิ้ง/อาหารสัตว์