นิด้าโพล คนปากน้ำหนุน”อิ๊ง”นั่งนายกฯ
https://www.innnews.co.th/news/politics/news_526778/
นิด้าโพล คนปากน้ำหนุน”อิ๊ง”นั่งนายกฯ “พิธา”อันดับ2 “ลุงตู่” 3 “ประวิตร” รั้ง10 กาเพื่อไทย 2ใบ
“
นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เปิดเผยผลสำรวจของประชาชน มีสิทธิเลือกตั้งในจังหวัดสมุทรปราการ รวมทั้งสิ้น จำนวน 1,100 หน่วยตัวอย่างเรื่อง “
คนสมุทรปราการ เลือกพรรคไหน” ทำการสำรวจระหว่างวันที่ 22-23 มีนาคม 2566 จากการสำรวจเมื่อถามถึงบุคคลที่คนสมุทรปราการจะสนับสนุนให้เป็นนายกรัฐมนตรีในการเลือกตั้งครั้งนี้ พบว่า
อันดับ 1 ร้อยละ 35.82 ระบุว่าเป็น น.ส.
แพทองธาร (อุ๊งอิ๊งค์) ชินวัตร (พรรคเพื่อไทย) อันดับ 2 ร้อยละ 21.36 ระบุว่าเป็น นาย
พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ (พรรคก้าวไกล) อันดับ 3 ร้อยละ 13.91 ระบุว่าเป็น พลเอก
ประยุทธ์ จันทร์โอชา (พรรครวมไทยสร้างชาติ)
อันดับ 4 ร้อยละ 5.27 ระบุว่าเป็น คุณหญิง
สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ (พรรคไทยสร้างไทย) อันดับ 5 ร้อยละ 5.18 ระบุว่าเป็น พล.ต.อ.
เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส (พรรคเสรีรวมไทย) อันดับ 6 ร้อยละ 4.82 ระบุว่า ยังหาคนที่เหมาะสมไม่ได้ อันดับ 7 ร้อยละ 4.36 ระบุว่าเป็น นาย
เศรษฐา ทวีสิน (พรรคเพื่อไทย) อันดับ 8 ร้อยละ 2.27 ระบุว่าเป็น นพ.
ชลน่าน ศรีแก้ว (พรรคเพื่อไทย) อันดับ 9 ร้อยละ 2.18 ระบุว่าเป็น นาย
กรณ์ จาติกวณิช (พรรคชาติพัฒนากล้า) อันดับ 10 ร้อยละ 1.18 ระบุว่าเป็น พลเอก
ประวิตร วงษ์สุวรรณ (พรรคพลังประชารัฐ) อันดับ 11 ร้อยละ 1.00 ระบุว่าเป็น นาย
อนุทิน ชาญวีรกูล (พรรคภูมิใจไทย) และร้อยละ 2.65 ระบุอื่น ๆ ได้แก่ นาย
จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ (พรรคประชาธิปัตย์) น.ส.
กัญจนา ศิลปอาชา (พรรคชาติไทยพัฒนา) นพ.
วรงค์ เดชกิจวิกรม (พรรคไทยภักดี) นาย
มงคลกิตติ์ สุขสินธารานนท์ (พรรคไทยศรีวิไลย์) นาย
พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค (พรรครวมไทยสร้างชาติ)และนาย
วันมูหะมัดนอร์ มะทา (พรรคประชาชาติ)
สำหรับพรรคการเมืองที่คนสมุทรปราการจะเลือกให้เป็น ส.ส. แบบแบ่งเขต พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ 44.64 ระบุว่าเป็น พรรคเพื่อไทย อันดับ 2 ร้อยละ 26.73 ระบุว่าเป็น พรรคก้าวไกล อันดับ 3 ร้อยละ 11.18 ระบุว่าเป็น พรรครวมไทยสร้างชาติ อันดับ 4 ร้อยละ 3.73 ระบุว่าเป็น พรรคเสรีรวมไทย อันดับ 5 ร้อยละ 2.91 ระบุว่าเป็น พรรคพลังประชารัฐ อันดับ 6 ร้อยละ 2.45 ระบุว่าเป็น พรรคประชาธิปัตย์ อันดับ 7 ร้อยละ 2.09 ระบุว่าเป็น พรรคไทยสร้างไทย อันดับ 8 ร้อยละ 1.82 ระบุว่า ยังไม่ตัดสินใจ อันดับ 9 ร้อยละ 1.55 ระบุว่าเป็น พรรคภูมิใจไทย อันดับ 10 ร้อยละ 1.27 ระบุว่าเป็น พรรคชาติพัฒนากล้า และร้อยละ 1.63 ระบุอื่น ๆ ได้แก่ พรรคชาติไทยพัฒนา พรรคกล้า พรรคไทยศรีวิไลย์ พรรคสร้างอนาคตไทย พรรคไทยภักดี และพรรคประชาชาติ
ส่วนพรรคการเมืองที่คนสมุทรปราการจะเลือกให้เป็น ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ 45.82 ระบุว่าเป็น พรรคเพื่อไทย อันดับ 2 ร้อยละ 25.73 ระบุว่าเป็น พรรคก้าวไกล อันดับ 3 ร้อยละ 11.55 ระบุว่าเป็น พรรครวมไทยสร้างชาติ อันดับ 4 ร้อยละ 4.09 ระบุว่าเป็น พรรคเสรีรวมไทย อันดับ 5 ร้อยละ 2.55 ระบุว่าเป็น พรรคประชาธิปัตย์ อันดับ 6 ร้อยละ 2.36 ระบุว่าเป็น พรรคไทยสร้างไทย อันดับ 7 ร้อยละ 2.18 ระบุว่าเป็น พรรคพลังประชารัฐ อันดับ 8 ร้อยละ 1.64 ระบุว่าเป็น พรรคภูมิใจไทย อันดับ 9 ร้อยละ 1.55 ระบุว่า ยังไม่ตัดสินใจ อันดับ 10 ร้อยละ 1.18 ระบุว่าเป็น พรรคชาติพัฒนากล้า และร้อยละ 1.35 ระบุอื่น ๆ ได้แก่ พรรคกล้า พรรคชาติไทยพัฒนา พรรคไทยศรีวิไลย์ พรรคไทยภักดี พรรคประชาชาติ และพรรคสร้างอนาคตไทย
โพลชี้คน Gen Z เลือกส.ส.เขต-ปาร์ตี้ลิสต์ พรรคก้าวไกล ตามด้วย ‘เพื่อไทย-รทสช.’
https://www.matichon.co.th/election66/movement/news_3905960
โพลอ.ธำรงศักดิ์ ชี้คน Gen Z มุ่งเลือกพรรคเดียวทั้งสองใบ พรรคก้าวไกลนำ ตามด้วยพรรคเพื่อไทยและครึ่งหนึ่งกระตือรือร้นโน้มน้าวคนในครอบครัวให้ลงคะแนนตามตน
เมื่อวันที่ 2 เมษายน ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ‘
อาจารย์ธำรงศักดิ์โพล’ งานวิจัยส่วนบุคคลของ รศ.ดร.
ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ คณะรัฐศาสตร์ ม.รังสิต เก็บข้อมูลแบบสอบถามจากคน Gen Z (ช่วงอายุ 18-26 ปี ทั้งประเทศ คน Gen Z มีสิทธิเลือกตั้ง 7.67 ล้านคน) ที่กำลังศึกษาระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ และทุกภาคของประเทศ จำนวน 1,050 คน เกี่ยวกับทัศนคติต่อการเลือกตั้ง 14 พฤษภาคม 2566
1. ข้อคำถามว่า “
ท่านจะเลือก ส.ส. เขตสังกัดพรรคใด”
ผลการวิจัยพบว่า (ตอบคำถาม 1,047 คน) คน Gen Z เลือกพรรค
1) ก้าวไกล ร้อยละ 38.1 (399 คน)
2) เพื่อไทย ร้อยละ 24.4 (255 คน)
3) รวมไทยสร้างชาติ ร้อยละ 0.9 (9 คน)
4) พลังประชารัฐ ร้อยละ 0.5 (5 คน)
5) ภูมิใจไทย ร้อยละ 1.0 (10 คน)
6) ประชาธิปัตย์ ร้อยละ 0.9 (9 คน)
7) ไทยสร้างไทย ร้อยละ 0.8 (8 คน)
8) สร้างอนาคตไทย ร้อยละ 0.3 (3 คน)
9) ชาติพัฒนากล้า ร้อยละ 0.8 (8 คน)
10) อื่นๆ ร้อยละ 0.7 (7 คน)
11) ยังไม่ตัดสินใจ ร้อยละ 25.3 (265 คน)
12) ไม่แสดงความเห็น ร้อยละ 6.6 (69 คน)
2. ข้อคำถามว่า “
ท่านจะเลือก ส.ส. บัญชีรายชื่อ พรรคใด”
ผลการวิจัยพบว่า (ตอบคำถาม 1,049 คน) คน Gen Z เลือก ส.ส. บัญชีรายชื่อพรรค
1) ก้าวไกล ร้อยละ 39.2 (415 คน)
2) เพื่อไทย ร้อยละ 21.9 (230 คน)
3) รวมไทยสร้างชาติ ร้อยละ 0.9 (9 คน)
4) พลังประชารัฐ ร้อยละ 0.5 (5 คน)
5) ภูมิใจไทย ร้อยละ 1.0 (10 คน)
6) ประชาธิปัตย์ ร้อยละ 0.8 (8 คน)
7) ไทยสร้างไทย ร้อยละ 1.1 (12 คน)
8) สร้างอนาคตไทย ร้อยละ 0.3 (3 คน)
9) ชาติพัฒนากล้า ร้อยละ 0.8 (8 คน)
10) อื่นๆ ร้อยละ 0.7 (7 คน)
11) ยังไม่ตัดสินใจ ร้อยละ 25.5 (268 คน)
12) ไม่แสดงความเห็น ร้อยละ 7.1 (74 คน)
3. ข้อคำถามว่า “
ท่านจะรณรงค์ให้คนในครอบครัวของท่านเลือก ส.ส. เขต และ ส.ส.บัญชีรายชื่อ ตามแนวที่ท่านชื่นชอบหรือไม่”
ผลการวิจัยพบว่า (ตอบคำถาม 1,048 คน)
1) รณรงค์ ร้อยละ 51.5 (540 คน)
2) ไม่รณรงค์ ร้อยละ 19.8 (207 คน)
3) ไม่แสดงความเห็น ร้อยละ 28.7 (301 คน)
4. คน Gen Z แสดงออกถึงการเลือกพรรคเดียวทั้ง ส.ส. เขต และ ส.ส. บัญชีรายชื่อ ในทุกพรรคที่ตัดสินใจเลือก
5. พรรคก้าวไกล คะแนนนิยมของคน Gen Z ต่อ นายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ มีร้อยละ 29.2 ทว่าคะแนนนิยมเลือก ส.ส. เขตของพรรคเพิ่มเป็น ร้อยละ 38.1 และเพิ่มขึ้นอีกเมื่อตัดสินใจเลือก ส.ส.บัญชีรายชื่อเป็น ร้อยละ 39.2 (หรือราว 2.55 ล้านเสียงของคน Gen Z ที่คาดว่ามาใช้สิทธิเลือกตั้ง ร้อยละ 85.1 หรือราว 6.52 ล้านคน)
6. พรรคเพื่อไทย คะแนนนิยมของคน Gen Z ต่อ นางสาวแพรทองธาร ชินวัตร มีร้อยละ 23 แต่คะแนนนิยมเลือก ส.ส. เขตของพรรคเพิ่มเป็น ร้อยละ 24.4 แต่ลดลงเมื่อตัดสินใจเลือก ส.ส.บัญชีรายชื่อเหลือ ร้อยละ 21.9 (หรือราว 1.43 ล้านเสียงของคน Gen Z ที่คาดว่ามาใช้สิทธิเลือกตั้ง ร้อยละ 85.1 หรือราว 6.52 ล้านคน)
7. พรรครวมไทยสร้างชาติได้รับความนิยมจากคน Gen Z ร้อยละ 0.9 (9 คน)
8. พรรคพลังประชารัฐได้รับความนิยมจากคน Gen Z ร้อยละ 0.5 (5 คน)
9. คน Gen Z ยังไม่ตัดสินใจเลือก ส.ส. บัญชีรายชื่อพรรคการเมืองใด ร้อยละ 25.5 (268 คน) หรือราว 1.66 ล้านเสียงของคน Gen Z ที่คาดว่าจะมาใช้สิทธิเลือกตั้ง
10. คน Gen Z (อายุ 18-26 ปี) มีสิทธิเลือกตั้ง 7.67 ล้านคน หากคาดว่ามาใช้สิทธิอย่างแน่นอนร้อยละ 85.1 ก็ประมาณได้ว่าจะมีคน Gen Z มาใช้สิทธิเลือกตั้งเบื้องต้นราว 6.52 ล้านคน
11. คน Gen Z ร้อยละ 51.5 จะรณรงค์ให้คนในครอบครัวมาเลือก ส.ส. เขต และ ส.ส.บัญชีรายชื่อ ตามแนวที่ตนชื่นชอบ ซึ่งมีแนวโน้มว่า คน Gen X (อายุ 44-58) และ Baby Boomer (อายุ 59 ขึ้นไป) ที่เป็นพ่อแม่ของคน Gen Z กลุ่มนี้ จะหันมาเลือกตามความนิยมของลูก โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนในต่างจังหวัด
ข้อมูลพื้นฐาน
งานวิจัยทัศนคติของคน Gen Z ต่อการเลือกตั้งพฤษภาคม 2566 มีผู้ตอบแบบสอบถามรวม 1,050 คน เก็บข้อมูลระหว่างวันที่ 14-25 มีนาคม 2566 (มีประกาศยุบสภาวันที่ 20 มีนาคม)
เพศของผู้ตอบแบบสอบถาม : หญิง 695 คน (66.2%) ชาย 299 คน (28.5%) เพศหลากหลาย 56 คน (5.3%)
โรงเรียนที่ท่านจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจากเขตภูมิภาคใด : กรุงเทพฯ 144 คน (13.7%) ปริมณฑลกรุงเทพฯ (นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม สมุทรปราการ) 96 คน (9.1%) ภาคกลาง 184 คน (17.5%) ภาคเหนือ 80 คน (7.6%) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 329 คน (31.3%) ภาคใต้ 217 คน (20.8%)
อายุของผู้ตอบแบบสอบถาม อายุ 18 ปี 90 คน (8.6%) อายุ 19 ปี 416 คน (39.6%) อายุ 20 ปี 271 คน (25.7%) อายุ 21 ปี 129 คน (12.3%) อายุ 22 ปี 63 คน (6.0%) อายุ 23 ปี 30 คน (2.9%) อายุ 24 ปี 13 คน (1.2%) อายุ 25 ปี 7 คน (0.7%) อายุ 26 ปี 31 คน (3.0%)
ภาคเหนือระทม! ฝุ่นพิษติดตัวแดง ปกคลุม 20 จังหวัด เชียงดาว-เชียงใหม่ มากสุด
https://www.dailynews.co.th/news/2169209/
กรมควบคุมมลพิษ เผยคุณภาพอากาศทั่วประเทศพบ "ภาคเหนือ" มีฝุ่นพิษมากที่สุด 20 จังหวัด ขณะที่ อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ ค่าสูงสุด 328 มคก./ลบ.ม. เตือนเฝ้าระวังเป็นพิเศษ 5-6 เม.ย.เหตุอากาศปิด
เมื่อวันที่ 2 เม.ย. ศูนย์แก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ กรมควบคุมมลพิษ (คพ.) รายงานสถานการณ์คุณภาพอากาศพื้นที่ทั่วประเทศ คุณภาพอากาศอยู่ในระดับ คุณภาพดีมากถึงมีผลกระทบต่อสุขภาพ ตรวจวัดค่าฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน หรือ PM 2.5 ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง พบค่าฝุ่นระหว่าง 14-328ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (มคก./ลบ.ม.) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 50 มคก./ลบ.ม.)
ภาพรวมปริมาณ PM2.5 พบเกินค่ามาตรฐานใน 20 จังหวัด ได้แก่ จ.เชียงราย จ.เชียงใหม่ จ.น่าน จ.แม่ฮ่องสอน จ.พะเยา จ.ลำพูน จ.ลำปาง
จ.แพร่ จ.อุตรดิตถ์ จ.สุโขทัย จ.พิษณุโลก จ.ตาก จ.กำแพงเพชร จ.พิจิตร จ.หนองคาย จ.เลย จ.อุดรธานี จ.นครพนม จ.หนองบัวลำภู และ จ. อุบลราชธานี
ภาคเหนือ เกินค่ามาตรฐานเป็นส่วนใหญ่ ตรวจวัดได้ 40 – 328 มคก./ลบ.ม. แจ้งเตือนฝุ่นระดับสีแดง 21 พื้นที่ สูงสุดสุดที่ ต.เมืองนะ อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ 328 มคก./ลบ.ม. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เกินค่ามาตรฐาน 6 พื้นที่ ตรวจวัดได้ 25 – 82 มคก./ลบ.ม. ภาคกลางและตะวันตก ภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ดี ตรวจวัดได้ 18 – 41 มคก./ลบ.ม.ภาคตะวันออก ภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ดีมาก ตรวจวัดได้ 15 – 31 มคก./ลบ.ม.ภาคใต้ ภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ดีมาก ตรวจวัดได้ 14 – 23 มคก./ลบ.ม. กทม.และปริมณฑล โดยสถานีตรวจวัดของ คพ. ร่วมกับ กทม. ภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ดีมาก ตรวจวัดได้ 14 – 41 มคก./ลบ.ม.
กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง คพ.รายงานผลการคาดการณ์สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็กในพื้นที่กทม.และปริมณฑล ระหว่างวันที่ 3 – 9 เม.ย. ดังนี้ วันที่ 3 – 9 เม.ย.เป็นต้นไปสถานการณ์ในพื้นที่กทม.และปริมณฑลยังคงมีแนวโน้มที่ดี เนื่องจากสภาพอากาศที่เปิดมากขึ้น เพดานการลอยตัวอากาศที่สูงขึ้น ประกอบกับลมทางใต้ที่กำลังแรงช่วยพัดพาฝุ่นละอองออกจากพื้นที่
ส่วนพื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือมีแนวโน้มที่ควรเฝ้าระวังในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนโดยเฉพาะพื้นที่จังหวัดที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้านในวันที่ 3 – 9 เม.ย.อย่างไรก็ตามระหว่างวันที่ 3- 4 เม.ย.สถานการณ์อาจบรรเทาลงได้บ้างเนื่องจากสภาพอากาศที่เปิดมากขึ้น แต่ช่วงวันที่ 5-6 เม.ย. ควรเฝ้าระวังเป็นพิเศษเพราะอากาศค่อนข้างปิด ประชาชนทั่วไป ควรเฝ้าระวังสุขภาพ ลดเวลาการทำกิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองหากมีความจำเป็น ผู้ที่ต้องดูแลสุขภาพเป็นพิเศษ ควรลดระยะเวลาการทำกิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองหากมีความจำเป็น ถ้ามีอาการทางสุขภาพ ควรปรึกษาแพทย์ สำหรับประชาชนที่อยู่บริเวณพื้นที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ (พื้นที่สีแดง) ควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองหากมีความจำเป็น หากมีอาการทางสุขภาพควรปรึกษาแพทย์.
JJNY : นิด้าโพล คนปากน้ำหนุน”อิ๊ง”│โพลชี้คน Gen Z เลือกพรรคก้าวไกล│ภาคเหนือระทม!│ยูเครนไม่พอใจ รัสเซียทำหน้าที่ปธ.UNSC
https://www.innnews.co.th/news/politics/news_526778/
นิด้าโพล คนปากน้ำหนุน”อิ๊ง”นั่งนายกฯ “พิธา”อันดับ2 “ลุงตู่” 3 “ประวิตร” รั้ง10 กาเพื่อไทย 2ใบ
“นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เปิดเผยผลสำรวจของประชาชน มีสิทธิเลือกตั้งในจังหวัดสมุทรปราการ รวมทั้งสิ้น จำนวน 1,100 หน่วยตัวอย่างเรื่อง “คนสมุทรปราการ เลือกพรรคไหน” ทำการสำรวจระหว่างวันที่ 22-23 มีนาคม 2566 จากการสำรวจเมื่อถามถึงบุคคลที่คนสมุทรปราการจะสนับสนุนให้เป็นนายกรัฐมนตรีในการเลือกตั้งครั้งนี้ พบว่า
อันดับ 1 ร้อยละ 35.82 ระบุว่าเป็น น.ส.แพทองธาร (อุ๊งอิ๊งค์) ชินวัตร (พรรคเพื่อไทย) อันดับ 2 ร้อยละ 21.36 ระบุว่าเป็น นายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ (พรรคก้าวไกล) อันดับ 3 ร้อยละ 13.91 ระบุว่าเป็น พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา (พรรครวมไทยสร้างชาติ)
อันดับ 4 ร้อยละ 5.27 ระบุว่าเป็น คุณหญิงสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ (พรรคไทยสร้างไทย) อันดับ 5 ร้อยละ 5.18 ระบุว่าเป็น พล.ต.อ.เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส (พรรคเสรีรวมไทย) อันดับ 6 ร้อยละ 4.82 ระบุว่า ยังหาคนที่เหมาะสมไม่ได้ อันดับ 7 ร้อยละ 4.36 ระบุว่าเป็น นายเศรษฐา ทวีสิน (พรรคเพื่อไทย) อันดับ 8 ร้อยละ 2.27 ระบุว่าเป็น นพ.ชลน่าน ศรีแก้ว (พรรคเพื่อไทย) อันดับ 9 ร้อยละ 2.18 ระบุว่าเป็น นายกรณ์ จาติกวณิช (พรรคชาติพัฒนากล้า) อันดับ 10 ร้อยละ 1.18 ระบุว่าเป็น พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ (พรรคพลังประชารัฐ) อันดับ 11 ร้อยละ 1.00 ระบุว่าเป็น นายอนุทิน ชาญวีรกูล (พรรคภูมิใจไทย) และร้อยละ 2.65 ระบุอื่น ๆ ได้แก่ นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ (พรรคประชาธิปัตย์) น.ส.กัญจนา ศิลปอาชา (พรรคชาติไทยพัฒนา) นพ.วรงค์ เดชกิจวิกรม (พรรคไทยภักดี) นายมงคลกิตติ์ สุขสินธารานนท์ (พรรคไทยศรีวิไลย์) นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค (พรรครวมไทยสร้างชาติ)และนายวันมูหะมัดนอร์ มะทา (พรรคประชาชาติ)
สำหรับพรรคการเมืองที่คนสมุทรปราการจะเลือกให้เป็น ส.ส. แบบแบ่งเขต พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ 44.64 ระบุว่าเป็น พรรคเพื่อไทย อันดับ 2 ร้อยละ 26.73 ระบุว่าเป็น พรรคก้าวไกล อันดับ 3 ร้อยละ 11.18 ระบุว่าเป็น พรรครวมไทยสร้างชาติ อันดับ 4 ร้อยละ 3.73 ระบุว่าเป็น พรรคเสรีรวมไทย อันดับ 5 ร้อยละ 2.91 ระบุว่าเป็น พรรคพลังประชารัฐ อันดับ 6 ร้อยละ 2.45 ระบุว่าเป็น พรรคประชาธิปัตย์ อันดับ 7 ร้อยละ 2.09 ระบุว่าเป็น พรรคไทยสร้างไทย อันดับ 8 ร้อยละ 1.82 ระบุว่า ยังไม่ตัดสินใจ อันดับ 9 ร้อยละ 1.55 ระบุว่าเป็น พรรคภูมิใจไทย อันดับ 10 ร้อยละ 1.27 ระบุว่าเป็น พรรคชาติพัฒนากล้า และร้อยละ 1.63 ระบุอื่น ๆ ได้แก่ พรรคชาติไทยพัฒนา พรรคกล้า พรรคไทยศรีวิไลย์ พรรคสร้างอนาคตไทย พรรคไทยภักดี และพรรคประชาชาติ
ส่วนพรรคการเมืองที่คนสมุทรปราการจะเลือกให้เป็น ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ 45.82 ระบุว่าเป็น พรรคเพื่อไทย อันดับ 2 ร้อยละ 25.73 ระบุว่าเป็น พรรคก้าวไกล อันดับ 3 ร้อยละ 11.55 ระบุว่าเป็น พรรครวมไทยสร้างชาติ อันดับ 4 ร้อยละ 4.09 ระบุว่าเป็น พรรคเสรีรวมไทย อันดับ 5 ร้อยละ 2.55 ระบุว่าเป็น พรรคประชาธิปัตย์ อันดับ 6 ร้อยละ 2.36 ระบุว่าเป็น พรรคไทยสร้างไทย อันดับ 7 ร้อยละ 2.18 ระบุว่าเป็น พรรคพลังประชารัฐ อันดับ 8 ร้อยละ 1.64 ระบุว่าเป็น พรรคภูมิใจไทย อันดับ 9 ร้อยละ 1.55 ระบุว่า ยังไม่ตัดสินใจ อันดับ 10 ร้อยละ 1.18 ระบุว่าเป็น พรรคชาติพัฒนากล้า และร้อยละ 1.35 ระบุอื่น ๆ ได้แก่ พรรคกล้า พรรคชาติไทยพัฒนา พรรคไทยศรีวิไลย์ พรรคไทยภักดี พรรคประชาชาติ และพรรคสร้างอนาคตไทย
โพลชี้คน Gen Z เลือกส.ส.เขต-ปาร์ตี้ลิสต์ พรรคก้าวไกล ตามด้วย ‘เพื่อไทย-รทสช.’
https://www.matichon.co.th/election66/movement/news_3905960
โพลอ.ธำรงศักดิ์ ชี้คน Gen Z มุ่งเลือกพรรคเดียวทั้งสองใบ พรรคก้าวไกลนำ ตามด้วยพรรคเพื่อไทยและครึ่งหนึ่งกระตือรือร้นโน้มน้าวคนในครอบครัวให้ลงคะแนนตามตน
เมื่อวันที่ 2 เมษายน ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ‘อาจารย์ธำรงศักดิ์โพล’ งานวิจัยส่วนบุคคลของ รศ.ดร.ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ คณะรัฐศาสตร์ ม.รังสิต เก็บข้อมูลแบบสอบถามจากคน Gen Z (ช่วงอายุ 18-26 ปี ทั้งประเทศ คน Gen Z มีสิทธิเลือกตั้ง 7.67 ล้านคน) ที่กำลังศึกษาระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ และทุกภาคของประเทศ จำนวน 1,050 คน เกี่ยวกับทัศนคติต่อการเลือกตั้ง 14 พฤษภาคม 2566
1. ข้อคำถามว่า “ท่านจะเลือก ส.ส. เขตสังกัดพรรคใด”
ผลการวิจัยพบว่า (ตอบคำถาม 1,047 คน) คน Gen Z เลือกพรรค
1) ก้าวไกล ร้อยละ 38.1 (399 คน)
2) เพื่อไทย ร้อยละ 24.4 (255 คน)
3) รวมไทยสร้างชาติ ร้อยละ 0.9 (9 คน)
4) พลังประชารัฐ ร้อยละ 0.5 (5 คน)
5) ภูมิใจไทย ร้อยละ 1.0 (10 คน)
6) ประชาธิปัตย์ ร้อยละ 0.9 (9 คน)
7) ไทยสร้างไทย ร้อยละ 0.8 (8 คน)
8) สร้างอนาคตไทย ร้อยละ 0.3 (3 คน)
9) ชาติพัฒนากล้า ร้อยละ 0.8 (8 คน)
10) อื่นๆ ร้อยละ 0.7 (7 คน)
11) ยังไม่ตัดสินใจ ร้อยละ 25.3 (265 คน)
12) ไม่แสดงความเห็น ร้อยละ 6.6 (69 คน)
2. ข้อคำถามว่า “ท่านจะเลือก ส.ส. บัญชีรายชื่อ พรรคใด”
ผลการวิจัยพบว่า (ตอบคำถาม 1,049 คน) คน Gen Z เลือก ส.ส. บัญชีรายชื่อพรรค
1) ก้าวไกล ร้อยละ 39.2 (415 คน)
2) เพื่อไทย ร้อยละ 21.9 (230 คน)
3) รวมไทยสร้างชาติ ร้อยละ 0.9 (9 คน)
4) พลังประชารัฐ ร้อยละ 0.5 (5 คน)
5) ภูมิใจไทย ร้อยละ 1.0 (10 คน)
6) ประชาธิปัตย์ ร้อยละ 0.8 (8 คน)
7) ไทยสร้างไทย ร้อยละ 1.1 (12 คน)
8) สร้างอนาคตไทย ร้อยละ 0.3 (3 คน)
9) ชาติพัฒนากล้า ร้อยละ 0.8 (8 คน)
10) อื่นๆ ร้อยละ 0.7 (7 คน)
11) ยังไม่ตัดสินใจ ร้อยละ 25.5 (268 คน)
12) ไม่แสดงความเห็น ร้อยละ 7.1 (74 คน)
3. ข้อคำถามว่า “ท่านจะรณรงค์ให้คนในครอบครัวของท่านเลือก ส.ส. เขต และ ส.ส.บัญชีรายชื่อ ตามแนวที่ท่านชื่นชอบหรือไม่”
ผลการวิจัยพบว่า (ตอบคำถาม 1,048 คน)
1) รณรงค์ ร้อยละ 51.5 (540 คน)
2) ไม่รณรงค์ ร้อยละ 19.8 (207 คน)
3) ไม่แสดงความเห็น ร้อยละ 28.7 (301 คน)
4. คน Gen Z แสดงออกถึงการเลือกพรรคเดียวทั้ง ส.ส. เขต และ ส.ส. บัญชีรายชื่อ ในทุกพรรคที่ตัดสินใจเลือก
5. พรรคก้าวไกล คะแนนนิยมของคน Gen Z ต่อ นายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ มีร้อยละ 29.2 ทว่าคะแนนนิยมเลือก ส.ส. เขตของพรรคเพิ่มเป็น ร้อยละ 38.1 และเพิ่มขึ้นอีกเมื่อตัดสินใจเลือก ส.ส.บัญชีรายชื่อเป็น ร้อยละ 39.2 (หรือราว 2.55 ล้านเสียงของคน Gen Z ที่คาดว่ามาใช้สิทธิเลือกตั้ง ร้อยละ 85.1 หรือราว 6.52 ล้านคน)
6. พรรคเพื่อไทย คะแนนนิยมของคน Gen Z ต่อ นางสาวแพรทองธาร ชินวัตร มีร้อยละ 23 แต่คะแนนนิยมเลือก ส.ส. เขตของพรรคเพิ่มเป็น ร้อยละ 24.4 แต่ลดลงเมื่อตัดสินใจเลือก ส.ส.บัญชีรายชื่อเหลือ ร้อยละ 21.9 (หรือราว 1.43 ล้านเสียงของคน Gen Z ที่คาดว่ามาใช้สิทธิเลือกตั้ง ร้อยละ 85.1 หรือราว 6.52 ล้านคน)
7. พรรครวมไทยสร้างชาติได้รับความนิยมจากคน Gen Z ร้อยละ 0.9 (9 คน)
8. พรรคพลังประชารัฐได้รับความนิยมจากคน Gen Z ร้อยละ 0.5 (5 คน)
9. คน Gen Z ยังไม่ตัดสินใจเลือก ส.ส. บัญชีรายชื่อพรรคการเมืองใด ร้อยละ 25.5 (268 คน) หรือราว 1.66 ล้านเสียงของคน Gen Z ที่คาดว่าจะมาใช้สิทธิเลือกตั้ง
10. คน Gen Z (อายุ 18-26 ปี) มีสิทธิเลือกตั้ง 7.67 ล้านคน หากคาดว่ามาใช้สิทธิอย่างแน่นอนร้อยละ 85.1 ก็ประมาณได้ว่าจะมีคน Gen Z มาใช้สิทธิเลือกตั้งเบื้องต้นราว 6.52 ล้านคน
11. คน Gen Z ร้อยละ 51.5 จะรณรงค์ให้คนในครอบครัวมาเลือก ส.ส. เขต และ ส.ส.บัญชีรายชื่อ ตามแนวที่ตนชื่นชอบ ซึ่งมีแนวโน้มว่า คน Gen X (อายุ 44-58) และ Baby Boomer (อายุ 59 ขึ้นไป) ที่เป็นพ่อแม่ของคน Gen Z กลุ่มนี้ จะหันมาเลือกตามความนิยมของลูก โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนในต่างจังหวัด
ข้อมูลพื้นฐาน
งานวิจัยทัศนคติของคน Gen Z ต่อการเลือกตั้งพฤษภาคม 2566 มีผู้ตอบแบบสอบถามรวม 1,050 คน เก็บข้อมูลระหว่างวันที่ 14-25 มีนาคม 2566 (มีประกาศยุบสภาวันที่ 20 มีนาคม)
เพศของผู้ตอบแบบสอบถาม : หญิง 695 คน (66.2%) ชาย 299 คน (28.5%) เพศหลากหลาย 56 คน (5.3%)
โรงเรียนที่ท่านจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจากเขตภูมิภาคใด : กรุงเทพฯ 144 คน (13.7%) ปริมณฑลกรุงเทพฯ (นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม สมุทรปราการ) 96 คน (9.1%) ภาคกลาง 184 คน (17.5%) ภาคเหนือ 80 คน (7.6%) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 329 คน (31.3%) ภาคใต้ 217 คน (20.8%)
อายุของผู้ตอบแบบสอบถาม อายุ 18 ปี 90 คน (8.6%) อายุ 19 ปี 416 คน (39.6%) อายุ 20 ปี 271 คน (25.7%) อายุ 21 ปี 129 คน (12.3%) อายุ 22 ปี 63 คน (6.0%) อายุ 23 ปี 30 คน (2.9%) อายุ 24 ปี 13 คน (1.2%) อายุ 25 ปี 7 คน (0.7%) อายุ 26 ปี 31 คน (3.0%)
ภาคเหนือระทม! ฝุ่นพิษติดตัวแดง ปกคลุม 20 จังหวัด เชียงดาว-เชียงใหม่ มากสุด
https://www.dailynews.co.th/news/2169209/
กรมควบคุมมลพิษ เผยคุณภาพอากาศทั่วประเทศพบ "ภาคเหนือ" มีฝุ่นพิษมากที่สุด 20 จังหวัด ขณะที่ อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ ค่าสูงสุด 328 มคก./ลบ.ม. เตือนเฝ้าระวังเป็นพิเศษ 5-6 เม.ย.เหตุอากาศปิด
เมื่อวันที่ 2 เม.ย. ศูนย์แก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ กรมควบคุมมลพิษ (คพ.) รายงานสถานการณ์คุณภาพอากาศพื้นที่ทั่วประเทศ คุณภาพอากาศอยู่ในระดับ คุณภาพดีมากถึงมีผลกระทบต่อสุขภาพ ตรวจวัดค่าฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน หรือ PM 2.5 ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง พบค่าฝุ่นระหว่าง 14-328ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (มคก./ลบ.ม.) (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 50 มคก./ลบ.ม.)
ภาพรวมปริมาณ PM2.5 พบเกินค่ามาตรฐานใน 20 จังหวัด ได้แก่ จ.เชียงราย จ.เชียงใหม่ จ.น่าน จ.แม่ฮ่องสอน จ.พะเยา จ.ลำพูน จ.ลำปาง
จ.แพร่ จ.อุตรดิตถ์ จ.สุโขทัย จ.พิษณุโลก จ.ตาก จ.กำแพงเพชร จ.พิจิตร จ.หนองคาย จ.เลย จ.อุดรธานี จ.นครพนม จ.หนองบัวลำภู และ จ. อุบลราชธานี
ภาคเหนือ เกินค่ามาตรฐานเป็นส่วนใหญ่ ตรวจวัดได้ 40 – 328 มคก./ลบ.ม. แจ้งเตือนฝุ่นระดับสีแดง 21 พื้นที่ สูงสุดสุดที่ ต.เมืองนะ อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ 328 มคก./ลบ.ม. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เกินค่ามาตรฐาน 6 พื้นที่ ตรวจวัดได้ 25 – 82 มคก./ลบ.ม. ภาคกลางและตะวันตก ภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ดี ตรวจวัดได้ 18 – 41 มคก./ลบ.ม.ภาคตะวันออก ภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ดีมาก ตรวจวัดได้ 15 – 31 มคก./ลบ.ม.ภาคใต้ ภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ดีมาก ตรวจวัดได้ 14 – 23 มคก./ลบ.ม. กทม.และปริมณฑล โดยสถานีตรวจวัดของ คพ. ร่วมกับ กทม. ภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ดีมาก ตรวจวัดได้ 14 – 41 มคก./ลบ.ม.
กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง คพ.รายงานผลการคาดการณ์สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็กในพื้นที่กทม.และปริมณฑล ระหว่างวันที่ 3 – 9 เม.ย. ดังนี้ วันที่ 3 – 9 เม.ย.เป็นต้นไปสถานการณ์ในพื้นที่กทม.และปริมณฑลยังคงมีแนวโน้มที่ดี เนื่องจากสภาพอากาศที่เปิดมากขึ้น เพดานการลอยตัวอากาศที่สูงขึ้น ประกอบกับลมทางใต้ที่กำลังแรงช่วยพัดพาฝุ่นละอองออกจากพื้นที่
ส่วนพื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือมีแนวโน้มที่ควรเฝ้าระวังในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนโดยเฉพาะพื้นที่จังหวัดที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้านในวันที่ 3 – 9 เม.ย.อย่างไรก็ตามระหว่างวันที่ 3- 4 เม.ย.สถานการณ์อาจบรรเทาลงได้บ้างเนื่องจากสภาพอากาศที่เปิดมากขึ้น แต่ช่วงวันที่ 5-6 เม.ย. ควรเฝ้าระวังเป็นพิเศษเพราะอากาศค่อนข้างปิด ประชาชนทั่วไป ควรเฝ้าระวังสุขภาพ ลดเวลาการทำกิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองหากมีความจำเป็น ผู้ที่ต้องดูแลสุขภาพเป็นพิเศษ ควรลดระยะเวลาการทำกิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองหากมีความจำเป็น ถ้ามีอาการทางสุขภาพ ควรปรึกษาแพทย์ สำหรับประชาชนที่อยู่บริเวณพื้นที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ (พื้นที่สีแดง) ควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองหากมีความจำเป็น หากมีอาการทางสุขภาพควรปรึกษาแพทย์.