

https://www.bangkokbiznews.com/social/public_health/1020289
"

ง" หรือ ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ ชี้ โควิด-19 จะอยู่ตลอดไป สาเหตุเพราะอะไร โรคนี้จะมีความรุนแรงมากขึ้นหรือไม่ เช็กกันตรงนี้ หลังแพร่ระบาดมาแล้วร่วม 2 ปีครึ่ง
ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ หรือ "

ง" หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก ใจความระบุว่า....👇
โควิด-19 เราไม่สามารถหนีกฎเกณฑ์ตามธรรมชาติ
ในอดีตที่ผ่านมามีการระบาดของโรคร้ายแรงมากมาย ไม่ว่าจะเป็นไข้ทรพิษ กาฬโรค และความรู้
การแพทย์ไม่ทันสมัยเหมือนสมัยนี้ เราก็สามารถผ่านพ้นกันมาได้จนทุกวันนี้ การระบาดของโรค จะไม่ยืดยาวนานอย่าง โควิด-19 ในปัจจุบัน
ตามกฎเกณฑ์ของวิวัฒนาการ กระต่ายเคยทำลาย พืชเกษตรเสียหายมาก
มนุษย์จึงใช้ไวรัสที่ก่อโรครุนแรงในกระต่ายถึงเสียชีวิต และเป็นโรคระบาด ใส่ให้กระต่าย
ผลปรากฏว่ากระต่ายเสียชีวิตจำนวนมากแต่ก็จะมีจำนวนหนึ่งที่ทนต่อไวรัสนี้ และหลงเหลืออยู่แพร่พันธุ์ต่อมา เพิ่มจำนวนได้เท่าเดิม
เมื่อมองย้อนไปถึงการระบาดของโรคในอดีต การระบาดส่วนใหญ่จะใช้เวลาปีเดียว มีการติดต่อกันมาก
อย่างเช่น อหิวาตกโรคในรัชกาลที่ 2 หรือไข้หวัดใหญ่สเปน ในรัชกาลที่ 6 ระบาดอยู่เพียงปีเดียว ก็เปลี่ยนเป็นโรคประจำฤดูกาล
แต่มีการสูญเสียค่อนข้างมากโดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง ประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของประชากร
เราประมาณการกันว่า ไข้หวัดใหญ่ ระยะเวลา 3 ปี เกือบทุกคนจะเป็นหนึ่งครั้ง
และเมื่อครบ 9 ปีโดยเฉลี่ยแล้วจะเป็นครบทั้งไข้หวัดใหญ่ A (H1N1, H3N2) และ B รวม 3 ตัว
ดังนั้นในเด็กอายุต่ำกว่า 9 ปี ถ้าไม่เคยฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่มาก่อน
การให้ครั้งแรกของชีวิตจะต้องให้ 2 ครั้งห่างกัน 1 เดือน
แต่ถ้าใครอายุเกิน 9 ปี ก็ถือว่าน่าจะเคยติดเชื้อไข้หวัดใหญ่มาแล้ว การให้วัคซีนจะเป็นเข็มกระตุ้น 1 ครั้ง
Covid 19 ก็น่าจะเช่นเดียวกันถ้าใช้ระยะเวลา 3 ปี ประชาชนส่วนใหญ่ก็น่าจะเคยติดเชื้อมาเป็นส่วนใหญ่แล้ว
ในปัจจุบันการแพทย์เราดีขึ้นก็ตาม การระบาดของโรคเราต่อสู้กับมันมาตลอด
ทำให้ระยะเวลาในการระบาดยืดยาวออก และในที่สุดประชากรส่วนใหญ่ ก็คงจะต้องเคยติดโรค
เปรียบเสมือนไข้หวัดใหญ่ โรคทางไวรัส ส่วนใหญ่เป็นในเด็กอาการจะไม่มีรุนแรง อาการจะรุนแรงในกลุ่มเปราะบาง
เรายืดระยะการระบาดมาถึง 2 ปีครึ่งแล้ว เพื่อให้มีการพัฒนา การรักษา การป้องกัน ด้วยวัคซีน
ปัจจุบันก็ทราบแล้วว่า วัคซีนไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อได้ แต่ช่วยลดความรุนแรง
การระบาดในระยะหลัง จึงมีผู้ติดเชื้อจำนวนมาก อาจจะเป็นจำนวนเป็นหลายหมื่น
ถ้ารวมผู้ติดเชื้อมีอาการน้อยหรือไม่มีอาการ และไม่ได้ตรวจ ก็อาจจะเป็นแสนก็ได้
ปัญหาของโรค จึงอยู่ในกลุ่มเฉพาะเปราะบาง จำนวนการนอนโรงพยาบาล จึงอยู่ที่ 2000 - 3000 คน การเสียชีวิต 20-30 คน
เรารับความจริงแล้วว่า โรคนี้จะอยู่กับเราตลอดไป และจะอยู่ด้วยกันได้
ไวรัสจะทำร้ายเราน้อยลง เรามีระบบภูมิต้านทานที่ดีขึ้น ที่เคยได้รับวัคซีน หรือติดเชื้อมาแล้ว และมียาที่ดีขึ้น
อัตราการสูญเสียก็จะน้อยลง เหมือนโรคทางเดินหายใจทั่วๆไป
โดยเฉพาะในเด็ก เมื่อเป็นแล้ว โตขึ้นก็จะมีภูมิต้านทาน และถ้าได้รับเชื้อความรุนแรงของโรคก็จะน้อยลงเอง
https://www.nationtv.tv/news/social/378882663
ไม่เคยติดโควิด" เป็นเพราะความโชคดี หรือว่ามีพันธุกรรม และภูมิคุ้มกันในร่างกายที่แข็งแกร่ง ผลวิจัยระบุ เซลล์ของคนบางคนไวรัส SARS-CoV-2 เกาะติดไม่ได้
หลายคนคงกำลังรู้สึกแปลกใจ และเหลือเชื่อมาก ๆ ที่ไม่ ติดโควิด เลยแม้แต่ครั้งเดียว ไม่ว่าจะเป็น ซีซั่นไหน สายพันธุ์อะไรก็รอดทุกครั้ง หรือแม้กระทั้งบางคนในครอบครัวติด และมีความเสี่ยงสูง แต่กลับพบว่าหลังจากตรวจแล้วหาเชื้อแล้วก็ไม่พบผลบวก และไม่มีอาการแสดงใด ๆ โดยบทความจากเว็บไซต์ CNB ได้ระบุถึงกรณีที่บางคน "ไม่เคยติดโควิด" เลยแม้แต่ครั้งเดียวไม่ว่าจะอยู่ในกลุ่มเสี่ยง หรือออกไปใช้ชีวิตในสถานที่เสี่ยงแค่ไหนก็ตาม ซึ่งหลายคนอาจจะมองว่ากรณีที่ "ไม่เคยติดโควิด" หรือ การอยู่ใกล้ชิดผู้ติดเชื้อ สถานการณ์การระบาดซ้ำแล้วซ้ำเล่าแต่ ทำไมไม่ติดโควิด อาจจะเป็นเราโชคดี หรือ เพราะเราไม่ตรวจไม่หาเชื้อ จึงทำให้เรารอดมาได้ทุกซีซั่น
โดยข้อมูลจากเว็บไซต์ CNA ระบุว่า มีความคิดเห็นมากมายที่บอกว่าการที่ "ไม่เคยติดโควิด" เป็นอะไรที่มากกว่าความโชคดี โดยเฉพาะบางคนที่ทำหน้าที่ใกล้ชิดกับผู้ติดเชื้อ เช่น เจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาล ซึ่งมีการสัมผัสกับผู้ติดเชื้อสูงมาก แต่พบว่าหลังจากตรวจหาเชื้อกลับไม่พบว่ามีผลตรวจเป็นบวก จากการระบาดที่หนักหนาของ โควิด19 ที่ผ่านมา เชื่อว่าคนใกล้ตัวเราเพียงไม่กี่คนที่โชคดีไม่ ติดโควิด และเราเองอาจจะเป็นหนึ่งในคนที่มีพลังวิเศษ ที่ไม่ได้รับเชื้อเช่นกัน อย่างไรก็ตามยังคงเป็นเรื่องที่ทำให้คนส่งสัยอย่างมากว่า มีแนวทางทางวิทยาศาสตร์บอกเราไม่ได้หรือไม่ว่าทำไมถึง "ไม่เคยติดโควิด" หรือเป็นเพราะว่า เราโชคดี ก็เท่านั้น
อย่างที่ทราบกันดีกว่าประชากรกว่า 60% ในสหราชอาณาจักร มีผลตรวจโควิดเป็นบวกทั้งสิ้น โดยจากผลการศึกษาพบ ว่า อัตราผู้ติดเชื้อโควิด 19 ที่ไม่แสดงไม่อาการอาจจะมีแนวโน้มสูงเพิ่มมากยิ่งขึ้น และคนส่วนใหญ่ก็บอกว่าเป็นเรื่องธรรมดา แม้ว่าจะมีคนติดโควิด 19 แบบไม่รู้ตัว แต่ก็ยังมีบางคนที่มีภูมิต้านทานต่อเชื้อโควิด-19 ซึ่งกรณีดังกล่าวยังคงเป็นคำถามมากมายที่เกิดขึ้นในระหว่างการระบาดใหญ่ และแน่นอนว่า ยังไม่มีคำตอบด้านวิทยาศาสตร์ที่ชัดเจน แต่วิทยาศาสตร์และโชคดูเหมือนว่าจะมีบทบาทสำคัญทั่งคู่ที่อาจจะทำใก้ใครบางคน "ไม่เคยติดโควิด"
เป็นไปได้หรือไม่ที่เราจะ "ไม่เคยติดโควิด" ได้นานขนาดนี้
เว็บไซต์ CNA ระบุต่อว่า เป็นไปได้หรือไม่ว่าคนที่ "ไม่เคยติดโควิด" เลย อาจจะไม่เคยสัมผัสกับเชื้อไวรัส หรือมีการปกป้องดูแลตัวเองในช่วงที่เกิดการระบาดได้เป็นอย่างดี แม้ว่าในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา จะมีมาตรการด้านความปลอดภัยเกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อโควิดมากยิ่งขึ้น แต่ผู้คนจำนวนมากก็จบลงด้วยการ ติดโควิด โดยเฉพาะในกลุ่มคนที่เป็นโรคหัวใจ โรคปอดเรื้อรัง ถือว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงที่ต้องใช้ชีวิตอย่างยากลำบาก เพราะต้องระมัดระวังอย่างสูงสูดเพื่อให้ไม่ให้ติดเชื้อ แต่จากการระบาดของ โอไมครอน ที่สามารถแพร่เชื้อได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแพร่เชื้อในระดับชุมชน ครอบครัว โรงเรียน ที่มีมากยิ่งขึ้น ยิ่งเป็นเหตุผลที่ทำให้ไม่สามารถเลี่ยงการ อยู่ใกล้กลุ่มเสี่ยง และจะไม่ติดเชื้อโควิดได้ยาก แต่กลับพบว่าเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาล และสมาชิกที่ครอบครัวมีคนติดโควิดกลับตรวจไม่พบเชื้อ อย่างไรก็ตามข้อมูลระบุว่า การฉีดวัคซีนสามารถลดความเสี่ยง ในการติดเชื้อรุนแรง และลดโอกาสหารแพร่เชื้อได้ ซึ่งการฉีดวัคซีนอาจะช่วยใฝห้คนใกล้ชิดบางคนหลีกเลี่ยงการติดเชื้อได้อย่างแน่นอน
ทำไมบางคนถึง "ไม่เคยติดโควิด" สามารถอยู่รอดมาได้จนถึงปัจจุบัน
เว็บไซต์ CNA ระบุว่า บางทฤษฎี ระบุ เอาไว้ว่า สำหรับผู้ที่ "ไม่เคยติดโควิด" เลย อาจจะเกิดจากการที่ ร่างกายมีการสัมผัสและรับเชื้อไวรัสเข้าไปแล้ว แต่ขาดตัวเชื่อมโยงระหว่างไวรัสโควิดกั[เซลในร่างกาย การแพร่เชื้อจึงล้มเหลวและไม่สามารถเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจได้ ทั้งนี้ข้อมูลจากนักวิจัย ระบุ ว่า ในมนุษย์แต่ละคน ความแตกต่างภูมิคุ้มกันต่อการตอบสนองต่อไวรัส SARS-CoV-2 มีความแตกต่างกัน แน่นอนว่าคนที่ "ไม่เคยติดโควิด" เลย ภูมิคุ้มกันในร่างกายอาจจะมีการตอบสนองที่รวดเร็ว แข็งแกร่งทำให้ไวรัสไม่สามารถเข้าไปทำลายร่างกายได้ อย่างไรก็ตามประสิทธิภาพของภูมิคุ้มกัน ย่อมขึ้นอยู่กับ อายุ พันธุกรรม นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาเกี่ยวกับพันธุกรรม และการติดเชื้อโควิด 19 ซึ่งพบว่า กว่า 20% พันธุกรรมคืออีกหนึ่งปัจจัยที่กำหนดความรุนแรงของโรค ดังนั้นส่วนประกอบทางพันธุกรรมของเราจึงอาจเป็นกุญแจสำคัญในการต้านทานเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ได้
ที่ผ่านมาเคยมีผู้บริจาคเซลล์บริเวณจมูก เพื่อทำการทดสอบ และจากการทดสอบเซลล์บนจานพลาสติก เพื่อทดสอบว่าเซลล์ที่ได้มาจะมีการตอบสนองต่อเชื้อไวรัสอย่างไร ผลปรากฎว่ามีตัวอย่างเซลล์ของผู้บริจาค 1 ราย ที่ไวรัส SARS-CoV-2 ไม่สามารถติดเซลล์ได้ อย่างไรก็ตามการทำการวิจัยยังมีผู้บริจาคเซลล์จำนวนน้อย ซึ่งเน้นแค่การศึกษาความอ่อนไหวทางพันธุกรรมหรือควาต้านทานต่อการติดเชื้อเท่านั้น และมีความเป็นไปได้ว่า การติดชื้อไวรัสโคโรนาชนิดอื่น ๆ เช่น โรคซาร์ส (กลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลัน) และ เมอร์ส (โรคระบบทางเดินหายใจในตะวันออกกลาง) ในครั้งก่อน ส่งผลให้เกิดภูมิคุ้มกันแบบ cross-reactive ซึ่งอาจจะเป็นจุดที่ทำให้ภูมิกันของเรารับรู้ ว่า SARS-CoV-2 คล้ายกับไวรัสที่บุกรุกล่าสุดและกระตุ้นการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน
อย่างไรก็ตามหากคุณสามารถหลีกเลี่ยงการ ติดโควิด ได้จนถึงปัจจุบัน อาจจะหมายความว่า คุณอาจจะมีภูมิคุ้มกันทางธรรมชาติ หรือ คุณอาจจะโชคดี แต่ไม่ว่าจะด้วยวิธีการใดการป้องกันตัวเองไม่ให้ติดโควิดแบบนี้ต่อไปเรื่อย ๆ ถือว่าเป็นเรื่องดี เพราะขณะนี้เรายังไม่รู้ว่าสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 จะเป็นอย่างไรในอนาคต
https://www.komchadluek.net/covid-19/covid-19-updated/525813
ติดตามข่าวโควิดวันนี้ค่ะ......
ผู้ป่วยโควิดอาการหนักเริ่มลดลง แต่ยอดเสียชีวิตยังสูงค่ะ
จำนวนผู้ป่วยใหม่ทรงตัวในหลักสองพันกว่าคน
🇹🇭🧡มาลาริน🧡🇹🇭11ส.ค.โควิดไทยไม่ติดTop10โลก อยู่ที่28/ป่วย2,316คน หาย2,076คน เสียชีวิต35คน/หมอ ยง เผย/ผู้ไม่ติดโควิด
https://www.bangkokbiznews.com/social/public_health/1020289
"
ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ หรือ "
โควิด-19 เราไม่สามารถหนีกฎเกณฑ์ตามธรรมชาติ
ในอดีตที่ผ่านมามีการระบาดของโรคร้ายแรงมากมาย ไม่ว่าจะเป็นไข้ทรพิษ กาฬโรค และความรู้
การแพทย์ไม่ทันสมัยเหมือนสมัยนี้ เราก็สามารถผ่านพ้นกันมาได้จนทุกวันนี้ การระบาดของโรค จะไม่ยืดยาวนานอย่าง โควิด-19 ในปัจจุบัน
ตามกฎเกณฑ์ของวิวัฒนาการ กระต่ายเคยทำลาย พืชเกษตรเสียหายมาก
มนุษย์จึงใช้ไวรัสที่ก่อโรครุนแรงในกระต่ายถึงเสียชีวิต และเป็นโรคระบาด ใส่ให้กระต่าย
ผลปรากฏว่ากระต่ายเสียชีวิตจำนวนมากแต่ก็จะมีจำนวนหนึ่งที่ทนต่อไวรัสนี้ และหลงเหลืออยู่แพร่พันธุ์ต่อมา เพิ่มจำนวนได้เท่าเดิม
เมื่อมองย้อนไปถึงการระบาดของโรคในอดีต การระบาดส่วนใหญ่จะใช้เวลาปีเดียว มีการติดต่อกันมาก
อย่างเช่น อหิวาตกโรคในรัชกาลที่ 2 หรือไข้หวัดใหญ่สเปน ในรัชกาลที่ 6 ระบาดอยู่เพียงปีเดียว ก็เปลี่ยนเป็นโรคประจำฤดูกาล
แต่มีการสูญเสียค่อนข้างมากโดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง ประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของประชากร
เราประมาณการกันว่า ไข้หวัดใหญ่ ระยะเวลา 3 ปี เกือบทุกคนจะเป็นหนึ่งครั้ง
และเมื่อครบ 9 ปีโดยเฉลี่ยแล้วจะเป็นครบทั้งไข้หวัดใหญ่ A (H1N1, H3N2) และ B รวม 3 ตัว
ดังนั้นในเด็กอายุต่ำกว่า 9 ปี ถ้าไม่เคยฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่มาก่อน
การให้ครั้งแรกของชีวิตจะต้องให้ 2 ครั้งห่างกัน 1 เดือน
แต่ถ้าใครอายุเกิน 9 ปี ก็ถือว่าน่าจะเคยติดเชื้อไข้หวัดใหญ่มาแล้ว การให้วัคซีนจะเป็นเข็มกระตุ้น 1 ครั้ง
Covid 19 ก็น่าจะเช่นเดียวกันถ้าใช้ระยะเวลา 3 ปี ประชาชนส่วนใหญ่ก็น่าจะเคยติดเชื้อมาเป็นส่วนใหญ่แล้ว
ในปัจจุบันการแพทย์เราดีขึ้นก็ตาม การระบาดของโรคเราต่อสู้กับมันมาตลอด
ทำให้ระยะเวลาในการระบาดยืดยาวออก และในที่สุดประชากรส่วนใหญ่ ก็คงจะต้องเคยติดโรค
เปรียบเสมือนไข้หวัดใหญ่ โรคทางไวรัส ส่วนใหญ่เป็นในเด็กอาการจะไม่มีรุนแรง อาการจะรุนแรงในกลุ่มเปราะบาง
เรายืดระยะการระบาดมาถึง 2 ปีครึ่งแล้ว เพื่อให้มีการพัฒนา การรักษา การป้องกัน ด้วยวัคซีน
ปัจจุบันก็ทราบแล้วว่า วัคซีนไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อได้ แต่ช่วยลดความรุนแรง
การระบาดในระยะหลัง จึงมีผู้ติดเชื้อจำนวนมาก อาจจะเป็นจำนวนเป็นหลายหมื่น
ถ้ารวมผู้ติดเชื้อมีอาการน้อยหรือไม่มีอาการ และไม่ได้ตรวจ ก็อาจจะเป็นแสนก็ได้
ปัญหาของโรค จึงอยู่ในกลุ่มเฉพาะเปราะบาง จำนวนการนอนโรงพยาบาล จึงอยู่ที่ 2000 - 3000 คน การเสียชีวิต 20-30 คน
เรารับความจริงแล้วว่า โรคนี้จะอยู่กับเราตลอดไป และจะอยู่ด้วยกันได้
ไวรัสจะทำร้ายเราน้อยลง เรามีระบบภูมิต้านทานที่ดีขึ้น ที่เคยได้รับวัคซีน หรือติดเชื้อมาแล้ว และมียาที่ดีขึ้น
อัตราการสูญเสียก็จะน้อยลง เหมือนโรคทางเดินหายใจทั่วๆไป
โดยเฉพาะในเด็ก เมื่อเป็นแล้ว โตขึ้นก็จะมีภูมิต้านทาน และถ้าได้รับเชื้อความรุนแรงของโรคก็จะน้อยลงเอง
https://www.nationtv.tv/news/social/378882663
ไม่เคยติดโควิด" เป็นเพราะความโชคดี หรือว่ามีพันธุกรรม และภูมิคุ้มกันในร่างกายที่แข็งแกร่ง ผลวิจัยระบุ เซลล์ของคนบางคนไวรัส SARS-CoV-2 เกาะติดไม่ได้
หลายคนคงกำลังรู้สึกแปลกใจ และเหลือเชื่อมาก ๆ ที่ไม่ ติดโควิด เลยแม้แต่ครั้งเดียว ไม่ว่าจะเป็น ซีซั่นไหน สายพันธุ์อะไรก็รอดทุกครั้ง หรือแม้กระทั้งบางคนในครอบครัวติด และมีความเสี่ยงสูง แต่กลับพบว่าหลังจากตรวจแล้วหาเชื้อแล้วก็ไม่พบผลบวก และไม่มีอาการแสดงใด ๆ โดยบทความจากเว็บไซต์ CNB ได้ระบุถึงกรณีที่บางคน "ไม่เคยติดโควิด" เลยแม้แต่ครั้งเดียวไม่ว่าจะอยู่ในกลุ่มเสี่ยง หรือออกไปใช้ชีวิตในสถานที่เสี่ยงแค่ไหนก็ตาม ซึ่งหลายคนอาจจะมองว่ากรณีที่ "ไม่เคยติดโควิด" หรือ การอยู่ใกล้ชิดผู้ติดเชื้อ สถานการณ์การระบาดซ้ำแล้วซ้ำเล่าแต่ ทำไมไม่ติดโควิด อาจจะเป็นเราโชคดี หรือ เพราะเราไม่ตรวจไม่หาเชื้อ จึงทำให้เรารอดมาได้ทุกซีซั่น
โดยข้อมูลจากเว็บไซต์ CNA ระบุว่า มีความคิดเห็นมากมายที่บอกว่าการที่ "ไม่เคยติดโควิด" เป็นอะไรที่มากกว่าความโชคดี โดยเฉพาะบางคนที่ทำหน้าที่ใกล้ชิดกับผู้ติดเชื้อ เช่น เจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาล ซึ่งมีการสัมผัสกับผู้ติดเชื้อสูงมาก แต่พบว่าหลังจากตรวจหาเชื้อกลับไม่พบว่ามีผลตรวจเป็นบวก จากการระบาดที่หนักหนาของ โควิด19 ที่ผ่านมา เชื่อว่าคนใกล้ตัวเราเพียงไม่กี่คนที่โชคดีไม่ ติดโควิด และเราเองอาจจะเป็นหนึ่งในคนที่มีพลังวิเศษ ที่ไม่ได้รับเชื้อเช่นกัน อย่างไรก็ตามยังคงเป็นเรื่องที่ทำให้คนส่งสัยอย่างมากว่า มีแนวทางทางวิทยาศาสตร์บอกเราไม่ได้หรือไม่ว่าทำไมถึง "ไม่เคยติดโควิด" หรือเป็นเพราะว่า เราโชคดี ก็เท่านั้น
อย่างที่ทราบกันดีกว่าประชากรกว่า 60% ในสหราชอาณาจักร มีผลตรวจโควิดเป็นบวกทั้งสิ้น โดยจากผลการศึกษาพบ ว่า อัตราผู้ติดเชื้อโควิด 19 ที่ไม่แสดงไม่อาการอาจจะมีแนวโน้มสูงเพิ่มมากยิ่งขึ้น และคนส่วนใหญ่ก็บอกว่าเป็นเรื่องธรรมดา แม้ว่าจะมีคนติดโควิด 19 แบบไม่รู้ตัว แต่ก็ยังมีบางคนที่มีภูมิต้านทานต่อเชื้อโควิด-19 ซึ่งกรณีดังกล่าวยังคงเป็นคำถามมากมายที่เกิดขึ้นในระหว่างการระบาดใหญ่ และแน่นอนว่า ยังไม่มีคำตอบด้านวิทยาศาสตร์ที่ชัดเจน แต่วิทยาศาสตร์และโชคดูเหมือนว่าจะมีบทบาทสำคัญทั่งคู่ที่อาจจะทำใก้ใครบางคน "ไม่เคยติดโควิด"
เป็นไปได้หรือไม่ที่เราจะ "ไม่เคยติดโควิด" ได้นานขนาดนี้
เว็บไซต์ CNA ระบุต่อว่า เป็นไปได้หรือไม่ว่าคนที่ "ไม่เคยติดโควิด" เลย อาจจะไม่เคยสัมผัสกับเชื้อไวรัส หรือมีการปกป้องดูแลตัวเองในช่วงที่เกิดการระบาดได้เป็นอย่างดี แม้ว่าในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา จะมีมาตรการด้านความปลอดภัยเกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อโควิดมากยิ่งขึ้น แต่ผู้คนจำนวนมากก็จบลงด้วยการ ติดโควิด โดยเฉพาะในกลุ่มคนที่เป็นโรคหัวใจ โรคปอดเรื้อรัง ถือว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงที่ต้องใช้ชีวิตอย่างยากลำบาก เพราะต้องระมัดระวังอย่างสูงสูดเพื่อให้ไม่ให้ติดเชื้อ แต่จากการระบาดของ โอไมครอน ที่สามารถแพร่เชื้อได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแพร่เชื้อในระดับชุมชน ครอบครัว โรงเรียน ที่มีมากยิ่งขึ้น ยิ่งเป็นเหตุผลที่ทำให้ไม่สามารถเลี่ยงการ อยู่ใกล้กลุ่มเสี่ยง และจะไม่ติดเชื้อโควิดได้ยาก แต่กลับพบว่าเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาล และสมาชิกที่ครอบครัวมีคนติดโควิดกลับตรวจไม่พบเชื้อ อย่างไรก็ตามข้อมูลระบุว่า การฉีดวัคซีนสามารถลดความเสี่ยง ในการติดเชื้อรุนแรง และลดโอกาสหารแพร่เชื้อได้ ซึ่งการฉีดวัคซีนอาจะช่วยใฝห้คนใกล้ชิดบางคนหลีกเลี่ยงการติดเชื้อได้อย่างแน่นอน
ทำไมบางคนถึง "ไม่เคยติดโควิด" สามารถอยู่รอดมาได้จนถึงปัจจุบัน
เว็บไซต์ CNA ระบุว่า บางทฤษฎี ระบุ เอาไว้ว่า สำหรับผู้ที่ "ไม่เคยติดโควิด" เลย อาจจะเกิดจากการที่ ร่างกายมีการสัมผัสและรับเชื้อไวรัสเข้าไปแล้ว แต่ขาดตัวเชื่อมโยงระหว่างไวรัสโควิดกั[เซลในร่างกาย การแพร่เชื้อจึงล้มเหลวและไม่สามารถเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจได้ ทั้งนี้ข้อมูลจากนักวิจัย ระบุ ว่า ในมนุษย์แต่ละคน ความแตกต่างภูมิคุ้มกันต่อการตอบสนองต่อไวรัส SARS-CoV-2 มีความแตกต่างกัน แน่นอนว่าคนที่ "ไม่เคยติดโควิด" เลย ภูมิคุ้มกันในร่างกายอาจจะมีการตอบสนองที่รวดเร็ว แข็งแกร่งทำให้ไวรัสไม่สามารถเข้าไปทำลายร่างกายได้ อย่างไรก็ตามประสิทธิภาพของภูมิคุ้มกัน ย่อมขึ้นอยู่กับ อายุ พันธุกรรม นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาเกี่ยวกับพันธุกรรม และการติดเชื้อโควิด 19 ซึ่งพบว่า กว่า 20% พันธุกรรมคืออีกหนึ่งปัจจัยที่กำหนดความรุนแรงของโรค ดังนั้นส่วนประกอบทางพันธุกรรมของเราจึงอาจเป็นกุญแจสำคัญในการต้านทานเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ได้
ที่ผ่านมาเคยมีผู้บริจาคเซลล์บริเวณจมูก เพื่อทำการทดสอบ และจากการทดสอบเซลล์บนจานพลาสติก เพื่อทดสอบว่าเซลล์ที่ได้มาจะมีการตอบสนองต่อเชื้อไวรัสอย่างไร ผลปรากฎว่ามีตัวอย่างเซลล์ของผู้บริจาค 1 ราย ที่ไวรัส SARS-CoV-2 ไม่สามารถติดเซลล์ได้ อย่างไรก็ตามการทำการวิจัยยังมีผู้บริจาคเซลล์จำนวนน้อย ซึ่งเน้นแค่การศึกษาความอ่อนไหวทางพันธุกรรมหรือควาต้านทานต่อการติดเชื้อเท่านั้น และมีความเป็นไปได้ว่า การติดชื้อไวรัสโคโรนาชนิดอื่น ๆ เช่น โรคซาร์ส (กลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลัน) และ เมอร์ส (โรคระบบทางเดินหายใจในตะวันออกกลาง) ในครั้งก่อน ส่งผลให้เกิดภูมิคุ้มกันแบบ cross-reactive ซึ่งอาจจะเป็นจุดที่ทำให้ภูมิกันของเรารับรู้ ว่า SARS-CoV-2 คล้ายกับไวรัสที่บุกรุกล่าสุดและกระตุ้นการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน
อย่างไรก็ตามหากคุณสามารถหลีกเลี่ยงการ ติดโควิด ได้จนถึงปัจจุบัน อาจจะหมายความว่า คุณอาจจะมีภูมิคุ้มกันทางธรรมชาติ หรือ คุณอาจจะโชคดี แต่ไม่ว่าจะด้วยวิธีการใดการป้องกันตัวเองไม่ให้ติดโควิดแบบนี้ต่อไปเรื่อย ๆ ถือว่าเป็นเรื่องดี เพราะขณะนี้เรายังไม่รู้ว่าสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 จะเป็นอย่างไรในอนาคต
https://www.komchadluek.net/covid-19/covid-19-updated/525813
ติดตามข่าวโควิดวันนี้ค่ะ......
ผู้ป่วยโควิดอาการหนักเริ่มลดลง แต่ยอดเสียชีวิตยังสูงค่ะ
จำนวนผู้ป่วยใหม่ทรงตัวในหลักสองพันกว่าคน