หยุด...เรื่องทิฏฐิ62..สำหรับวันนี้---จะเอาทิฏฐิของภิกษุรูปหนึ่งมาแสดง...ครับ
ว่าด้วยกรรมที่อนัตตากระทำจะถูกต้องอัตตา
[๑๙๒] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่ง ได้เกิดความปริวิตกแห่งใจขึ้นว่า
" ท่านผู้เจริญ ทั้งหลาย ได้ยินว่า ด้วยประการดังนี้แล รูปเป็นอนัตตา เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็น อนัตตา
กรรมที่อนัตตากระทำ จักถูกต้องอนัตตาคือกรรมได้อย่างไร? "
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาค ทรงทราบความปริวิตกแห่งใจของภิกษุนั้นด้วยพระทัยแล้ว ได้ตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายมาตรัสว่า
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
" ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อที่โมฆบุรุษบางคน ในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ตกอยู่ในอำนาจอวิชชา มีใจถูกตัณหา ครอบงำ จะพึงสำคัญสัตถุศาสน์
ว่าเป็นคำสอนที่ควรคิดให้ตระหนักว่า ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ได้ยินว่า ด้วยประการดังนี้แล รูปเป็นอนัตตา เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
เป็นอนัตตา กรรมที่อนัตตากระทำ จักถูกต้องอัตตาคือกรรมได้อย่างไร? นี้เป็นฐานะที่จะมีได้ "
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
อนตฺตกตานิ(อนัตตากระทำา) กมฺมานิ(กรรม) กถมตฺตานํ(อย่างไร+อัตตา ) ผุสิสฺสนฺตีติ (กระทบ)
ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย เธอทั้งหลาย อันเราได้แนะนำไว้แล้ว ด้วยการทวนถามในธรรมนั้นๆ ในบาลีประเทศ นั้นๆ
จะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ปฏิปุจฺฉาวินีตา(การถาม-ตอบ) โข(แล) เม(เรา) ตุมฺเห(เธอ), ภิกฺขเว, ตตฺร(ในที่นี้) ตตฺร เตสุ(เหล่านั้น) เตสุ ธมฺเมสุ(ในธรรม-ในคำสอน).
ภิกษุทั้งหลาย!, เราถามเธอ...แล ในที่นี้ๆ ซึ่งคำสอน..เหล่านั้นๆ ....ว่า
- รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ภิกษุเหล่านั้นกราบทูลว่า ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า.
- พ. เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ภิ. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า.
- พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ภิ. เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า.
- พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
ควรหรือหนอ ที่จะตาม เห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา?
ภิ. ไม่ควรเห็นอย่างนั้น พระเจ้าข้า.
พ. เพราะเหตุนั้นแล ฯลฯ
อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ฯลฯ
ย่อมทราบ ชัดว่า ฯลฯ กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ฉะนี้แล.
จบ สูตรที่ ๑๐.
https://etipitaka.com/read/thai/17/101/
สรุป..<----ผมอาจจะสรุปไม่ถูกต้องนัก ...ถ้าจะแสดงความเห็น..ก็โปรดแสดงความเห็นในลักษณะที่วิญญูชนพึงกระทำ
1. ผมจะชี้ให้เห็น 2 ข้อความ.. ดังนี้
ภิกษุคิด:............. กรรมที่อนัตตากระทำ จักถูกต้อง....
อนัตตา...คือกรรมได้อย่างไร? "
อนตฺตกตานิ กมฺมานิ กมฺมตฺตานํ ผุสิสฺสนฺตีติ ฯ
พระองค์กล่าว:..... กรรมที่อนัตตากระทำ จักถูกต้อง....
อัตตา.....คือกรรมได้อย่างไร?
อนตฺตกตานิ กมฺมานิ กมฺมตฺตานํ ผุสิสฺสนฺตีติ ฯ
จะเห็นว่า...บาลีตรงกัน...แต่แปลไม่เหมือนกัน <----คือพิมพ์ผิด
อันแรก...ลงท้ายด้วย "..
อนัตตาคือกรรรมได้อย่างไร" ส่วนอันหลังเป็น "...
อัตตาคือกรรมได้อย่างไร "
2. จากข้อ 1:
อนตฺตกตานิ กมฺมานิ กมฺมตฺตานํ ผุสิสฺสนฺตีติ ฯ <---มาดูว่าจากบาลี..จะแปลเป็นไทยได้ข้อความอย่างไร
อนตฺตกตานิ----อนัตตากระทำ
กมฺมานิ----------กรรม
กถมตฺตานํ-------
อย่างไร+ประมาณ อย่างไร + ซึ่งอัตตา(ซึ่งตน)
ผุสิสฺสนฺตีติ-------กระทบ
แปลเป็นข้อความได้ว่า........ " กรรม..ที่อนัตตากระทำ...จะถูกต้อง(มีผลกระทบ)อัตตาได้อย่างไร? "
3. จากคำแปลไทย..ที่ว่า " กรรม..ที่อนัตตากระทำ...จะถูกต้อง(มีผลกระทบ)ได้อย่างไร? "
พระภิกษุท่านคิดอย่างนี้...หมายถึงอะไร
ผมจะวิเคราะห์ว่า...
ท่านคิดว่า..ก็ขันธ์5...มันเป็นอนัตตา.. อย่างนี้อนัตตามันทำกรรม..แล้วจะไปมีผลกระทบอัตตาได้อย่างไร?
4. จะเห็นว่า...ความคิดของภิกษุท่านนั้น..
ท่านคิดแย้งพระศาสดา...คิดงัดข้อในคำสอน...ในใจนะว่า..
" โอ้.. ก็ในเมื่อขันธ์๕...มันเป็นอนัตตา.. อย่างนี้..อนัตตามันทำกรรมอะไร.... มันจะไปมีผลกระทบอัตตาได้อย่างไร "
พระศาสดาท่าน.. ท่านจึงว่า..มีผู้ที่ไปเข้าใจคำสอนของเราผิด..ด้วยความไม่รู้...แล้วจะมาแย้งเรา--จะแย้งคำสอนเรา
( อติธาวิตพฺพํ----atidhāvitabba: runs past, outstrips; goes too far; goes against, transgresses.)
ดังนั้น... พระศาสดาท่านจึงแสดงธรรมแบบถามตอบกับเหล่าภิกษุ...
เพื่อชี้ให้เห็นว่า...ขันธ์๕..มันไม่เที่ยง และเมื่อขันธ์๕..มันไม่เที่ยง..ขันธ์๕..มันก็เป็นทุกข์
และเมื่อ..ขันธ์๕..มันไม่เที่ยง-เป็นทุกข์ ----> มันจึงเป็น...อนัตตา...
จากนั้น..อันนี้สำคัญ
เมื่อสิ่งใดเป็น " อนัตตา " ---สิ่งนั้นก็ไม่ควรเห็นว่า..เป็นของเรา --- เป็นเรา ---เป็นตัวตนเขาเรา
นี่ก็คือการถอน...อุปาทานในขันธ์๕....
โดยพระองค์ชี้ให้เห็น...อาทีนวะ--ของขันธ์๕...ซึ่งก็คือ... ความไม่เที่ยง-เป็นทุกข์...นั่นเอง
5. เรื่องของเรื่อง..ก็คือ อุปาทานในขันธ์๕.... ภิกษุรูปนี้ไม่เข้าใจ...อุปาทาน...ที่พระองค์ชี้แจ้งในต้นพระสูตร
- หากยังมีอุปาทานในขันธ์๕..ซึ่งมันเป็นอนัตตาก็จริง.......เราก็จะมีทุกข์--เพราะไปมีอุปาทานในสิ่งที่เป็นทุกข์
- หากละได้สิ้นซึ้งอุปาทานในขันธ์๕...แล้ว ขันธ์๕..มันจะเป็นอะไร.....เราก็จะไม่มีทุกข์(เราไม่เกี่ยว)..อีกต่อไป
อย่าลืมว่า... กรรมเก่าคือกายนี้.....ผัสสะก็คือกรรมใหม่
และ...ผู้ที่กระทำมันไม่ใช่ขันธ์๕..นี่ซิ เพราะขันธ์๕..มันเป็นเพียงธาตุ
ผมแนะให้ไปดูต้นพระสูตรนะ... พระองค์ทรงแจกแจงว่า " ขันธ์๕-อุปาทาน-อุปาทานธ์๔ " <---ไปพิจารณาดูว่ามันต่างกันอย่างไร
6.
พระสูตรแปลไทย..แปลเกินมา...ตรง.." อัตตา "....ซึ่งผมเห็นว่า... สรุปว่า..ลงที่ " อัตตาถูกแล้ว "
เพราะคำว่า กถมตฺตานํ สนธิมาจาก กถํ + อตฺตานํ = อย่างไร+ซึ่งตน <---แปลว่า " ซึ่งตนอย่างไร "
ทิฏฐิ62..ตอน-5 : กรรมที่อนัตตากระทำ.....จักถูกต้องเราได้อย่างไร ?
หยุด...เรื่องทิฏฐิ62..สำหรับวันนี้---จะเอาทิฏฐิของภิกษุรูปหนึ่งมาแสดง...ครับ
ว่าด้วยกรรมที่อนัตตากระทำจะถูกต้องอัตตา
[๑๙๒] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่ง ได้เกิดความปริวิตกแห่งใจขึ้นว่า
" ท่านผู้เจริญ ทั้งหลาย ได้ยินว่า ด้วยประการดังนี้แล รูปเป็นอนัตตา เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็น อนัตตา
กรรมที่อนัตตากระทำ จักถูกต้องอนัตตาคือกรรมได้อย่างไร? "
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาค ทรงทราบความปริวิตกแห่งใจของภิกษุนั้นด้วยพระทัยแล้ว ได้ตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายมาตรัสว่า
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
" ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อที่โมฆบุรุษบางคน ในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ตกอยู่ในอำนาจอวิชชา มีใจถูกตัณหา ครอบงำ จะพึงสำคัญสัตถุศาสน์
ว่าเป็นคำสอนที่ควรคิดให้ตระหนักว่า ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ได้ยินว่า ด้วยประการดังนี้แล รูปเป็นอนัตตา เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
เป็นอนัตตา กรรมที่อนัตตากระทำ จักถูกต้องอัตตาคือกรรมได้อย่างไร? นี้เป็นฐานะที่จะมีได้ "
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย เธอทั้งหลาย อันเราได้แนะนำไว้แล้ว ด้วยการทวนถามในธรรมนั้นๆ ในบาลีประเทศ นั้นๆ
จะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
- รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ภิกษุเหล่านั้นกราบทูลว่า ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า.
- พ. เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ภิ. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า.
- พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ภิ. เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า.
- พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
ควรหรือหนอ ที่จะตาม เห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา?
ภิ. ไม่ควรเห็นอย่างนั้น พระเจ้าข้า.
พ. เพราะเหตุนั้นแล ฯลฯ
อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ฯลฯ
ย่อมทราบ ชัดว่า ฯลฯ กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ฉะนี้แล.
จบ สูตรที่ ๑๐.
https://etipitaka.com/read/thai/17/101/
สรุป..<----ผมอาจจะสรุปไม่ถูกต้องนัก ...ถ้าจะแสดงความเห็น..ก็โปรดแสดงความเห็นในลักษณะที่วิญญูชนพึงกระทำ
1. ผมจะชี้ให้เห็น 2 ข้อความ.. ดังนี้
ภิกษุคิด:............. กรรมที่อนัตตากระทำ จักถูกต้อง....อนัตตา...คือกรรมได้อย่างไร? "
อนตฺตกตานิ กมฺมานิ กมฺมตฺตานํ ผุสิสฺสนฺตีติ ฯ
พระองค์กล่าว:..... กรรมที่อนัตตากระทำ จักถูกต้อง....อัตตา.....คือกรรมได้อย่างไร?
อนตฺตกตานิ กมฺมานิ กมฺมตฺตานํ ผุสิสฺสนฺตีติ ฯ
จะเห็นว่า...บาลีตรงกัน...แต่แปลไม่เหมือนกัน <----คือพิมพ์ผิด
อันแรก...ลงท้ายด้วย "..อนัตตาคือกรรรมได้อย่างไร" ส่วนอันหลังเป็น "... อัตตาคือกรรมได้อย่างไร "
2. จากข้อ 1:
อนตฺตกตานิ กมฺมานิ กมฺมตฺตานํ ผุสิสฺสนฺตีติ ฯ <---มาดูว่าจากบาลี..จะแปลเป็นไทยได้ข้อความอย่างไร
อนตฺตกตานิ----อนัตตากระทำ
กมฺมานิ----------กรรม
กถมตฺตานํ-------
อย่างไร+ประมาณอย่างไร + ซึ่งอัตตา(ซึ่งตน)ผุสิสฺสนฺตีติ-------กระทบ
แปลเป็นข้อความได้ว่า........ " กรรม..ที่อนัตตากระทำ...จะถูกต้อง(มีผลกระทบ)อัตตาได้อย่างไร? "
3. จากคำแปลไทย..ที่ว่า " กรรม..ที่อนัตตากระทำ...จะถูกต้อง(มีผลกระทบ)ได้อย่างไร? "
พระภิกษุท่านคิดอย่างนี้...หมายถึงอะไร
ผมจะวิเคราะห์ว่า...
ท่านคิดว่า..ก็ขันธ์5...มันเป็นอนัตตา.. อย่างนี้อนัตตามันทำกรรม..แล้วจะไปมีผลกระทบอัตตาได้อย่างไร?
4. จะเห็นว่า...ความคิดของภิกษุท่านนั้น..
ท่านคิดแย้งพระศาสดา...คิดงัดข้อในคำสอน...ในใจนะว่า..
" โอ้.. ก็ในเมื่อขันธ์๕...มันเป็นอนัตตา.. อย่างนี้..อนัตตามันทำกรรมอะไร.... มันจะไปมีผลกระทบอัตตาได้อย่างไร "
พระศาสดาท่าน.. ท่านจึงว่า..มีผู้ที่ไปเข้าใจคำสอนของเราผิด..ด้วยความไม่รู้...แล้วจะมาแย้งเรา--จะแย้งคำสอนเรา
( อติธาวิตพฺพํ----atidhāvitabba: runs past, outstrips; goes too far; goes against, transgresses.)
ดังนั้น... พระศาสดาท่านจึงแสดงธรรมแบบถามตอบกับเหล่าภิกษุ...
เพื่อชี้ให้เห็นว่า...ขันธ์๕..มันไม่เที่ยง และเมื่อขันธ์๕..มันไม่เที่ยง..ขันธ์๕..มันก็เป็นทุกข์
และเมื่อ..ขันธ์๕..มันไม่เที่ยง-เป็นทุกข์ ----> มันจึงเป็น...อนัตตา...
จากนั้น..อันนี้สำคัญ
เมื่อสิ่งใดเป็น " อนัตตา " ---สิ่งนั้นก็ไม่ควรเห็นว่า..เป็นของเรา --- เป็นเรา ---เป็นตัวตนเขาเรา
นี่ก็คือการถอน...อุปาทานในขันธ์๕....
โดยพระองค์ชี้ให้เห็น...อาทีนวะ--ของขันธ์๕...ซึ่งก็คือ... ความไม่เที่ยง-เป็นทุกข์...นั่นเอง
5. เรื่องของเรื่อง..ก็คือ อุปาทานในขันธ์๕.... ภิกษุรูปนี้ไม่เข้าใจ...อุปาทาน...ที่พระองค์ชี้แจ้งในต้นพระสูตร
- หากยังมีอุปาทานในขันธ์๕..ซึ่งมันเป็นอนัตตาก็จริง.......เราก็จะมีทุกข์--เพราะไปมีอุปาทานในสิ่งที่เป็นทุกข์
- หากละได้สิ้นซึ้งอุปาทานในขันธ์๕...แล้ว ขันธ์๕..มันจะเป็นอะไร.....เราก็จะไม่มีทุกข์(เราไม่เกี่ยว)..อีกต่อไป
อย่าลืมว่า... กรรมเก่าคือกายนี้.....ผัสสะก็คือกรรมใหม่
และ...ผู้ที่กระทำมันไม่ใช่ขันธ์๕..นี่ซิ เพราะขันธ์๕..มันเป็นเพียงธาตุ
ผมแนะให้ไปดูต้นพระสูตรนะ... พระองค์ทรงแจกแจงว่า " ขันธ์๕-อุปาทาน-อุปาทานธ์๔ " <---ไปพิจารณาดูว่ามันต่างกันอย่างไร
6.
พระสูตรแปลไทย..แปลเกินมา...ตรง.." อัตตา "....ซึ่งผมเห็นว่า... สรุปว่า..ลงที่ " อัตตาถูกแล้ว "เพราะคำว่า กถมตฺตานํ สนธิมาจาก กถํ + อตฺตานํ = อย่างไร+ซึ่งตน <---แปลว่า " ซึ่งตนอย่างไร "