[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้อนิจจสูตรที่ ๔
[๒๗๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย รูปที่เป็นอดีตไม่เที่ยง สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้น
เป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา สิ่งใดเป็นอนัตตา สิ่งนั้นไม่ใช่ของ
เรา ไม่เป็นเรา ไม่ใช่ตัวตนของเรา ข้อนี้พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็น
จริงอย่างนี้
เสียงที่เป็นอดีตไม่เที่ยง ... กลิ่นที่เป็นอดีตไม่เที่ยง ... รสที่เป็นอดีต
ไม่เที่ยง ... โผฏฐัพพะที่เป็นอดีตไม่เที่ยง ... ธรรมารมณ์ที่เป็นอดีตไม่เที่ยง
สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา สิ่งใดเป็นอนัตตา
สิ่งนั้นไม่ใช่ของเรา ไม่เป็นเรา ไม่ใช่ตัวตนของเรา ข้อนี้พึงเห็นด้วยปัญญา
อันชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็น
อยู่อย่างนี้ ฯลฯ
(ดังนั้น...)
...กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ฯ
จบสูตรที่ ๔๖
อนิจจสูตรที่ ๕
ดูกรภิกษุทั้งหลาย รูปที่เป็นอนาคตไม่เที่ยง สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็น
ทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา สิ่งใดเป็นอนัตตา สิ่งนั้นไม่ใช่ของเรา
ไม่เป็นเรา ไม่ใช่ตัวตนของเรา ข้อนี้พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริง
อย่างนี้
เสียงที่เป็นอนาคตไม่เที่ยง ... กลิ่นที่เป็นอนาคตไม่เที่ยง ... รสที่เป็น
อนาคตไม่เที่ยง ... โผฏฐัพพะที่เป็นอนาคตไม่เที่ยง ... ธรรมารมณ์ที่เป็นอนาคต
ไม่เที่ยง ฯลฯ กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ฯ
จบสูตรที่ ๔๗
อนิจจสูตรที่ ๖
ดูกรภิกษุทั้งหลาย รูปที่เป็นปัจจุบันไม่เที่ยง สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์
สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา สิ่งใดเป็นอนัตตา สิ่งนั้นไม่ใช่ของเรา ไม่
เป็นเรา ไม่ใช่ตัวตนของเรา ข้อนี้พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริง
อย่างนี้
เสียงที่เป็นปัจจุบันไม่เที่ยง ... กลิ่นที่เป็นปัจจุบันไม่เที่ยง ... รสที่เป็น
ปัจจุบันไม่เที่ยง ... โผฏฐัพพะที่เป็นปัจจุบันไม่เที่ยง ... ธรรมารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน
ไม่เที่ยง ฯลฯ กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ฯ
จบสูตรที่ ๔๘
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๘ บรรทัดที่ ๔๒๔๔-๔๒๗๐ หน้าที่ ๑๘๔-๑๘๕.
http://www.84000.org/tipitaka/read/v.php?B=18&A=4244&Z=4270&pagebreak=0
เหตุอัชฌัตตสูตรที่ ๑
[๒๒๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย
จักษุเป็นของไม่เที่ยง
แม้เหตุและปัจจัย
เพื่อความเกิดขึ้นแห่งจักษุนั้นก็ไม่เที่ยง
จักษุอันเกิดแต่เหตุที่ไม่เที่ยง ที่ไหนจัก
เที่ยงเล่า ฯลฯ
ใจเป็นของไม่เที่ยง
แม้เหตุและปัจจัยเพื่อความเกิดขึ้นแห่งใจนั้น
ก็ไม่เที่ยง
ใจอันเกิดแต่เหตุที่ไม่เที่ยง ที่ไหนจักเที่ยงเล่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
อริยสาวกผู้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในจักษุ แม้ในหู แม้ใน
จมูก แม้ในลิ้น แม้ในกาย แม้ในใจ
เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะ
คลายกำหนัด จึงหลุดพ้น
เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว
รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่น
เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ฯ
จบสูตรที่ ๗
...อัคคัยหสูตรที่ ๑
[๒๑๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิ่งใดไม่ใช่ของเธอทั้งหลาย เธอทั้งหลาย
จงละสิ่งนั้นเสีย สิ่งนั้นอันเธอทั้งหลายละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์
เกื้อกูล เพื่อความสุข.....
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๘ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๐
สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค
https://m.pantip.com/topic/37823238
รู้จักพระพุทธศาสนาใน1นาที
https://m.pantip.com/topic/37487612
... สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา สิ่งใดเป็นอนัตตา สิ่งนั้นไม่ใช่ของเรา...
เหตุอัชฌัตตสูตรที่ ๑
[๒๒๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย
จักษุเป็นของไม่เที่ยง
แม้เหตุและปัจจัย
เพื่อความเกิดขึ้นแห่งจักษุนั้นก็ไม่เที่ยง
จักษุอันเกิดแต่เหตุที่ไม่เที่ยง ที่ไหนจัก
เที่ยงเล่า ฯลฯ
ใจเป็นของไม่เที่ยง
แม้เหตุและปัจจัยเพื่อความเกิดขึ้นแห่งใจนั้น
ก็ไม่เที่ยง
ใจอันเกิดแต่เหตุที่ไม่เที่ยง ที่ไหนจักเที่ยงเล่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
อริยสาวกผู้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในจักษุ แม้ในหู แม้ใน
จมูก แม้ในลิ้น แม้ในกาย แม้ในใจ
เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะ
คลายกำหนัด จึงหลุดพ้น
เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว
รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่น
เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ฯ
จบสูตรที่ ๗
...อัคคัยหสูตรที่ ๑
[๒๑๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิ่งใดไม่ใช่ของเธอทั้งหลาย เธอทั้งหลาย
จงละสิ่งนั้นเสีย สิ่งนั้นอันเธอทั้งหลายละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์
เกื้อกูล เพื่อความสุข.....
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๘ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๐
สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค
https://m.pantip.com/topic/37823238
รู้จักพระพุทธศาสนาใน1นาที
https://m.pantip.com/topic/37487612