คือจะว่าไป จะบอกว่าเป็นกระทู้ระบายก็ได้เพราะเจอมาก่ะตัว ตัวเองเป็นคนที่มีความรู้ด้านการเงินและบัญชีประมาณหนึ่ง (จบบริหาร) และก็ลงทงหุ้นด้วยเลยขอบอกว่ายอมรับความเสี่ยงที่คำนวนไว้แล้วได้ (calculate risk) หรืออย่างน้อยก็ไม่ใช่ที่เกิดแบบสุ่มสี่สุ่มห้า แม่ผมลงทุนกองทุนตราสารหนีที่ขายโดยธนาคารแห่งหนึ่ง (และมี บลเป็นของตัวเอง) โดยในหนังสือชื้ชวนก็เป็นลักษณะกองปิด 6 เดือน ลงทุนตราสาร 4 ตัว และมี 1 ตัวที่ non-rate ที่เหลือ bbb ขึ้นไป ความเสี่ยงกองระดับ 4
ที่เป็นห่วงที่สุดคือตัวที่ non-rate จึงได้ทำการ research เพิ่มเติมและเห็นว่าน่าจะโอเคในระยะ 6 เดือน ดูอัตราส่วนต่างๆ งบการเงิน และกระแสเงินสดแล้วก็ยังพอโอเค จึงตัดสินใจลงทุน แต่สิ่งที่พลาดที่ใหญ่ที่สุดคือ * ใช่ครับ * ไอ้ดอกจันเล็กๆตรงมุมไหนสักมุมนี้แหละว่าผู้จัดการกองทุนสามารถเลือกสับเปลี่ยนตราสารได้หาก บลาๆๆๆๆๆๆ สรุปคือ ตัว non-rate ที่ผมศึกษามา ผู้จัดการกองทุนไม่ได้นำเงินไปลงทุนครับ แต่นำเงินไปลงทุนใน อีกตราสารที่ non rate เหมือนกัน แต่อัตราส่วนต่างกัน แน่นอนอัตราส่วนบางตัวก็ดูดี แต่บางตัวก็ดูแย่กว่า แม่ผมลงทุนปี 59 ไตรมาส 3 นอกจากผมแล้วผจกกองทุนจึงควรจะเห็นงบปี 57 -58 และ 59 อย่างน้อย 1 ไตรมาส ผมเลยจะลองเปรียบเทียบตัวเลขให้ดูเฉพาะปี 57-58
บริษัท B คือที่โฆษณาไว้
บริษัท A คือที่ลงทุนจริง
Ratio Company A 57 Company A 58 Company B 57 Company B 58
ROE 2.53 6.94 17.57 12
ROA 3.88 4.4 11.53 7.09
NPM 11.39 28.21 16.37 14.07
PE 220.17 174.98 41.57 46.58
DE 0.475 1.83 1.16 1.27
ผู้จัดการกองทุนเลือกลงทุนในบริษัท A ที่ roe ต่ำทั้งๆที่ net profit margin สูงมากแล้ว (ความหมายโดยนัยคือการจะทำให้ NPM สูงกว่านี้คงจะยากมากเช่น 32% เป็นต้น) แถม d/e ยังสูงมาก และเพิ่มขึ้นจากปีก่อนอย่างมีนัยสำคัญ ท้ายที่สุดตราสารก็ default ภายในไม่กี่เดือน แต่หลังจาก default สิ่งที่ผู้บริหารกองใช้ในการกล่าวอ้างเพื่อเลือกกองคือ บริษัทนี้มีสินทรัพย์มากกว่าหนี้ ถึง กว่า 5000 ล้าน ก็น่าจะขายทรัพย์ได้ คำถามคือบริษัทอื่นๆ หรือตัวที่ผมเทียบ ก็มีทรัพย์มากกว่าหนี้ กว่า 8000 ล้าน เช่นกัน ไม่ได้จะอะไรนักหนา แค่อยากรู้ว่าคิดยังไงกันบ้างครับ และเมื่อเกิดการ default ตราสารแบบนี้นานแค่ไหนกว่าจะได้คืนครับ คาดว่าหลายๆคนคงพอจะเดาออกว่าเป็นตราสารของบริษัทใด
คิดยังไงกับผู้จัดการกองทุนที่กล้าลงทุนในบริษัทที่ pe เกิน 150 เท่า แต่ roe แค่ 6.9 ทั้งๆที่ net profit marginสูงถึง28%
ที่เป็นห่วงที่สุดคือตัวที่ non-rate จึงได้ทำการ research เพิ่มเติมและเห็นว่าน่าจะโอเคในระยะ 6 เดือน ดูอัตราส่วนต่างๆ งบการเงิน และกระแสเงินสดแล้วก็ยังพอโอเค จึงตัดสินใจลงทุน แต่สิ่งที่พลาดที่ใหญ่ที่สุดคือ * ใช่ครับ * ไอ้ดอกจันเล็กๆตรงมุมไหนสักมุมนี้แหละว่าผู้จัดการกองทุนสามารถเลือกสับเปลี่ยนตราสารได้หาก บลาๆๆๆๆๆๆ สรุปคือ ตัว non-rate ที่ผมศึกษามา ผู้จัดการกองทุนไม่ได้นำเงินไปลงทุนครับ แต่นำเงินไปลงทุนใน อีกตราสารที่ non rate เหมือนกัน แต่อัตราส่วนต่างกัน แน่นอนอัตราส่วนบางตัวก็ดูดี แต่บางตัวก็ดูแย่กว่า แม่ผมลงทุนปี 59 ไตรมาส 3 นอกจากผมแล้วผจกกองทุนจึงควรจะเห็นงบปี 57 -58 และ 59 อย่างน้อย 1 ไตรมาส ผมเลยจะลองเปรียบเทียบตัวเลขให้ดูเฉพาะปี 57-58
บริษัท B คือที่โฆษณาไว้
บริษัท A คือที่ลงทุนจริง
Ratio Company A 57 Company A 58 Company B 57 Company B 58
ROE 2.53 6.94 17.57 12
ROA 3.88 4.4 11.53 7.09
NPM 11.39 28.21 16.37 14.07
PE 220.17 174.98 41.57 46.58
DE 0.475 1.83 1.16 1.27
ผู้จัดการกองทุนเลือกลงทุนในบริษัท A ที่ roe ต่ำทั้งๆที่ net profit margin สูงมากแล้ว (ความหมายโดยนัยคือการจะทำให้ NPM สูงกว่านี้คงจะยากมากเช่น 32% เป็นต้น) แถม d/e ยังสูงมาก และเพิ่มขึ้นจากปีก่อนอย่างมีนัยสำคัญ ท้ายที่สุดตราสารก็ default ภายในไม่กี่เดือน แต่หลังจาก default สิ่งที่ผู้บริหารกองใช้ในการกล่าวอ้างเพื่อเลือกกองคือ บริษัทนี้มีสินทรัพย์มากกว่าหนี้ ถึง กว่า 5000 ล้าน ก็น่าจะขายทรัพย์ได้ คำถามคือบริษัทอื่นๆ หรือตัวที่ผมเทียบ ก็มีทรัพย์มากกว่าหนี้ กว่า 8000 ล้าน เช่นกัน ไม่ได้จะอะไรนักหนา แค่อยากรู้ว่าคิดยังไงกันบ้างครับ และเมื่อเกิดการ default ตราสารแบบนี้นานแค่ไหนกว่าจะได้คืนครับ คาดว่าหลายๆคนคงพอจะเดาออกว่าเป็นตราสารของบริษัทใด