ภิกษุ ท. ! โทษของภิกษุผู้กล่าวธรรมด้วยเสียงขับอันยาว มีห้าอย่าง
เหล่านี้. ห้าอย่างอะไรกันเล่า ? ห้าอย่างคือ :-
(๑) แม้ตนเอง ก็กำหนัดยินดีในเสียงนั้น.
(๒) แม้คนอื่น ก็พลอยกำหนัดยินดีในเสียงนั้น.
(๓) แม้พวกคฤหบดี ก็พากันยกโทษติเตียนได้ว่า “พวกสมณะ
สากยบุตร๒ เหล่านี้ ก็ขับเพลงเหมือนพวกเราขับเพลงทีเดียวนะ”
ดังนี้.
(๔) เมื่อภิกษุนั้นยังรู้สึกลุ่มหลงในกระแสเสียงนั้นอยู่ สมาธิก็พังทลาย
(๕) อนุชนรุ่นหลัง จะถือเอาเป็นแบบอย่าง.
ภิกษุ ท. ! โทษของภิกษุผู้กล่าวธรรมด้วยเสียงขับอันยาว มีห้าอย่าง
เหล่านี้แล.
๑. บาลี พระพุทธภาษิต ปญฺจก. อํ. ๒๒/๒๗๙/๒๐๙.
๒. โดยคำศัพท์จากบาลีเดิมนั้นใช้พยัญชนะ “ส” ไม่ใช้พยัญชนะ “ศ”.
ภิกษุร้องเพลง
เหล่านี้. ห้าอย่างอะไรกันเล่า ? ห้าอย่างคือ :-
(๑) แม้ตนเอง ก็กำหนัดยินดีในเสียงนั้น.
(๒) แม้คนอื่น ก็พลอยกำหนัดยินดีในเสียงนั้น.
(๓) แม้พวกคฤหบดี ก็พากันยกโทษติเตียนได้ว่า “พวกสมณะ
สากยบุตร๒ เหล่านี้ ก็ขับเพลงเหมือนพวกเราขับเพลงทีเดียวนะ”
ดังนี้.
(๔) เมื่อภิกษุนั้นยังรู้สึกลุ่มหลงในกระแสเสียงนั้นอยู่ สมาธิก็พังทลาย
(๕) อนุชนรุ่นหลัง จะถือเอาเป็นแบบอย่าง.
ภิกษุ ท. ! โทษของภิกษุผู้กล่าวธรรมด้วยเสียงขับอันยาว มีห้าอย่าง
เหล่านี้แล.
๑. บาลี พระพุทธภาษิต ปญฺจก. อํ. ๒๒/๒๗๙/๒๐๙.
๒. โดยคำศัพท์จากบาลีเดิมนั้นใช้พยัญชนะ “ส” ไม่ใช้พยัญชนะ “ศ”.