หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
กระทู้แรกของผมใน pantip ....กับการแวะไปเดินเล่นช่องอานม้า อ.น้ำยืน จ.อุบลราชธานี
กระทู้ข่าว
จังหวัดอุบลราชธานี
เที่ยวไทย
ภาพถ่าย
ก่อนอื่นขอออกตัวเลยนะครับ...ว่าไม่ใช่ช่างภาพอาชีพ...แต่ผมชอบการถ่ายรูปมากๆ
วันนี้วันที่ 1 ตุลาคม 2557 หลังจากที่ผมดูนักเรียนโรงเรียนโดมประดิษฐ์วิทยา แข่งฟุตซอลเสร็จประมาณเที่ยงตรง...
ผมมีเวลาว่างพอที่จะออกไปถ่ายรูปเล่น...คิดไปคิดมาก็หาที่ไกล้ๆ ออกไปถ่ายดีกว่า...เลยตัดสินใจไป ช่องอานม้า อ.น้ำยืน จ.อุบลราชธานี
ช่องอานม้า เป็นชื่อของช่องทางผ่านเข้าออกบริเวณแนวชายแดน ไทย-กัมพูชา เป็นจุดผ่อนปรนในการค้าขายและผ่านแดนระหว่างไทย-กัมพูชา อยู่ที่ตำบลโซง อำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี เปิดทุกวัน 09.00 น. ถึง 15.00 น.
วิ่งไปทางอำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี มุ่งหน้าไปทางเขาพระวิหาร เมื่อเลยตัวอำเภอน้ำยืนไปได้ประมาณ 3 กิโลเมตร จะมีป้ายบอกทางแยกเข้าซ้ายมือที่จะไปช่องอานม้า ด้วยระยะทางที่ป้ายบอกเพียง 12 กิโลเมตร
เส้นทางเหมือนจะไกล้ๆ แต่ใช้เวลาเหมือนกันเพราะขึ้นลงคดโค้งไปตามสภาวะของภูเขา ช่องอานม้า ตั้งอยู่ในพื้นที่ บ้านน้ำยืน หมู่ที่ 6 ตำบลโซง อำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี
แนวเขตแดนระหว่างไทยกับกัมพูชา ลอดเส้นทางราดยางจะมีโอกาสได้ชมธรรมชาติป่าไม้สองข้างทาง แล้วเมื่อมาสุดทางราดยางก็จะเป็นสุดชายแดนประเทศไทย
สินค้าเขมรที่ดูจะมีการซื้อขายกันมากก็คืออาหารป่า พืชผลธรรมชาติเช่น หน่อหวายหรือ ยอดหวาย ซึ่งเป็นอาหารยอดนิยมของคนในพื้นที่มาก
และมีทั้งเครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องเงิน (สภาพตามราคา) ชุดกีฬา รวมถึงเฟอร์นิเจอร์ประเภทไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้มะค่า-ไม่เต็ง (ราคาไม่แพง)
ก่อนข้ามแดนไปฝั่งกัมเขมรจะมีฐานปฏิบัติการกองร้อยทหารพรานที่ 2308 ตรวจตราการเข้าออกผ่านแดนที่ช่องอานม้าแห่งนี้ รวมทั้ง ทำหน้าที่บันทึกชนิดและจำนวนสินค้าที่มีการนำผ่านเข้าออกด้วย ขออนุญาตเจ้าหน้าที่แล้ว ก็สามารถเดินเท้าข้ามแดนไปเที่ยวต่างประเทศได้เลย ที่ฝั่งเขมรมีป้อมยาม เห็นมีทหารเขมรเฝ้าอยู่คนเดียว นั่งดูคนเดินผ่านไปมาเฉย ๆ ไม่ต้องตรวจหรือจดบันทึกอะไร
ฝั่งเขมรเป็นพื้นที่บ้านสะเตียลกวาง อำเภอจอมกระสาน จังหวัดพระวิหาร มีตลาดการค้าปลูกสร้างเป็นเพิงไม้ไผ่ สินค้าที่วางขายดูประหนึ่งดิวตี้ฟรีแบบชาวบ้าน บุหรี่ เหล้า ที่ดูเก่าๆ แต่ซีดีเพลงและหนังไทยกลับเท่าทันความนิยม
ก่อนเดินทางกลับผมไม่รู้จะซื้ออะไรติดมือกลับดี....สุดท้ายตัดสินใจซื้อแผ่น MP3 รวมกันตรึมติดมือกลับบ้าน..
โพสแรกนะครับ...ผิดพลาดประการใดต้องขออภัยด้วยนะครับ
ขอบคุณข้อมูลบางส่วน จากเพจ โคเคอุบล นะครับ
บันทึกข้อมูลและถ่ายภาพโดย เทวราช บำรุงราช
แก้ไขข้อความเมื่อ
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
กองกำลังสุรนารี กองทัพภาคที่2 จะกล้าใช้กำลังทหารขับไล่ทหารเขมรที่รุกล้ำดินแดนไทยหรือเปล่า
การที่เขมรรุกล้ำดินแดนไทยเรา150เมตรที่บริเวณช่องบก ช่องอานม้า ตรงอุบลราชธานีนั่น กองกำลังสุรนารีและกองทัพภาคที่2 เจ้าของพื้นที่สามารถใช้กำลังทหารปกป้องแผ่นดินไทยได้โดยไม่ต้องรอคำสั่งจากรัฐบาลจะกล้าใช้
สมาชิกหมายเลข 7031897
ทหารเขมรขุดคูเลทเตรียมสร้างฐานที่มั่น !!!
ทัพภาค2 แจงภาพ ทหารเขมร รุกล้ำ เนิน 745 ช่องบก เป็น ภาพจริง ขุดคูเลท เตรียมสร้างฐานที่มั่น แต่ทหารไทย กกล.สุรนารี บุกเจรจา จี้ให้ ถอนกำลังออกไปแล้ว นัด ลาดตระเวนร่วมกัน แต่พบ ยังมีบางจุด ที่ยังไม่ถอย
สมาชิกหมายเลข 8444838
ชายแดนไทยกัมพูชาตอนนี้ตึงเครียดจริงหรือว่าปกติดีครับ
ตามที่ข่าวออกมาว่าทั้งไทยและเขมรมีการเสริมกำลังทหารทั้ง2ฝ่ายตามแนวชายแดนอีกทั้งมีการปะทะคารมรุกล้ำชายแดนกัน เผาศาลากันอีก ปิดด่านก็มี อยากทราบว่าปัจจุบันนี้ตามแนวชายแดนไทยกัมพูชาตึงเครียดจริงตามที่ข่า
สมาชิกหมายเลข 7031897
ทำไม เราถึงมีความสัมพันธ์ทางการเมืองการทหาร กับมาเล ดีกว่า เขมรเพื่อนบ้านครับ ทั้งๆที่ชายแดนมาเลรุนแรงกว่านะครับ
ทำไม เราถึงมีความสัมพันธ์ทางการเมืองการทหาร กับมาเล ดีกว่า เขมรเพื่อนบ้านครับ ทั้งๆที่ชายแดนมาเลรุนแรงกว่านะครับ ทำไมมาเลกับเราถึงไปมาหาสู่กันบ่อยมากกว่าเขมรครับ เขมรไม่เคยมาหาเราเลยนะครับ ถ้าไม่มีงาน
สมาชิกหมายเลข 8626624
ทำไมเราไม่ตัดความสัมพันธ์กับกัมพูชาไปเลยครับทั้งที่เค้าสร้างปัญหาให้เราตลอด
ทำไมไทยเรายังถึงต้องคงความสัมพันธ์ทางการทูต การทหาร การเมือง เศรษฐกิจ ประชาชน ทุกๆด้านกับกัมพูชาไว้ด้วยครับก็ในเมื่อเขมรเนี่ยมีปัญหากับเรามาตลอดทั้งชายแดนอีสานใต้เอย ทางทะเลเอย. ไหนจะเรื่องเคลมวัฒนธรร
สมาชิกหมายเลข 7031897
ถ้าไทยรบกับเขมร แล้วเขมรที่เข้ามาทำงานในไทย จะเป็นยังไง
ถ้าไทยรบกับเขมร แล้วเขมรที่เข้ามาทำงานในไทย จะเป็นยังไง ช่วงนี้มีข่าว ไทย กับ เขมร ทำถ้าจะรบกัน ช่วงนี้สถานการณ์ยิ่งตึงเครียดขึ้นเรื่อยๆ ถ้ารบขึ้นมาจริงๆ ไทยจะชนะไหม เราจะได้อะไรบ้าง แล้วแรงงานเขมรใน
สมาชิกหมายเลข 5775889
3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ควรมีภาษายาวีเป็นภาษาประจำจังหวัดและราชการคู่กับภาษาไทยไหม
ได้ไอเดียนี้หลังจากที่ไปอ่านเกี่ยวกับ ดินแดนนูนาวุต ของประเทศแคนาดาแยกออกจากดินแดน Northwest Territories ในปี 2542 กลายเป็น เขตปกครองแรกของแคนาดาที่ใช้ภาษา inuktitut เป็นภาษาประจำดินแดน คู่กับภาษาอังก
สมาชิกหมายเลข 6361654
สถานการณ์ ชายแดน ล่าสุด ทหารไทยตั้งรับ เขมรรุกล้ำกินแดนเข้ามาเรื่ิอยๆ ไม่ปฎิบัติตาม MoU 43 แหกทุกกฎข้อห้ามที่คุยกัน
https://www.youtube.com/watch?v=4QLKk8kwS4w นี่งัย...วาทกรรม ที่สวยหรู มีทหารไว้ทำมัยยหรือ พวกท่าน จะไปรบเองอย่าพูด เอามัน สนุกปาก เขมร มีธง ต้องการรุกล้ำดินแดนเคลมดินแดนประเทศไทยขยายเขตแดน ของตน ทั้ง
สมาชิกหมายเลข 4045807
ชาวเขมรไม่ใช่ขอมแน่นอน! ยิ่งถ้าศึกษาเรื่อง "หมู่เลือด" และ "จารึกโบราณ" ยิ่งชัดว่าไม่เหมือนไทย-ลาว-พม่า?
ชาวเขมรไม่ใช่ขอมแน่นอน! ยิ่งถ้าศึกษาเรื่อง "หมู่เลือด" และ "จารึกโบราณ" ยิ่งชัดว่าไม่เหมือนไทย-ลาว-พม่า หรือ แม้แต่เวียดนามเลย!? >> หรือที่ผ่านมา นักประวัติศาสตร์สายฝรั่งเศ
สมาชิกหมายเลข 839956
อีกหน่อยอนาคตข้างหน้า ไทย-กัมพูชา จะมีปัญหาปะทะตามแนวชายแดนอีกเหมือนตอนปราสาทรอบเขาพระวิหารอีกหรือไม่?
วันนี้ผมได้ย้อนดูข่าวเก่าที่เกี่ยวกับไทย-กัมพูชาเคยประทะกันตามแนวชายแดน ผมสงสัยในปราสาทหลังหนึ่งซึ่งยังมีพื้นที่พิพาท ที่จริงๆก็ไม่น่า จะเป็นพื้นที่พิพาทได้เลย นั่นก็คือ ปราสาทตาเมือนธม นั่นเอง ผ
สมาชิกหมายเลข 4757398
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
จังหวัดอุบลราชธานี
เที่ยวไทย
ภาพถ่าย
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ : 54
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
กระทู้แรกของผมใน pantip ....กับการแวะไปเดินเล่นช่องอานม้า อ.น้ำยืน จ.อุบลราชธานี
ก่อนอื่นขอออกตัวเลยนะครับ...ว่าไม่ใช่ช่างภาพอาชีพ...แต่ผมชอบการถ่ายรูปมากๆ
วันนี้วันที่ 1 ตุลาคม 2557 หลังจากที่ผมดูนักเรียนโรงเรียนโดมประดิษฐ์วิทยา แข่งฟุตซอลเสร็จประมาณเที่ยงตรง...
ผมมีเวลาว่างพอที่จะออกไปถ่ายรูปเล่น...คิดไปคิดมาก็หาที่ไกล้ๆ ออกไปถ่ายดีกว่า...เลยตัดสินใจไป ช่องอานม้า อ.น้ำยืน จ.อุบลราชธานี
ช่องอานม้า เป็นชื่อของช่องทางผ่านเข้าออกบริเวณแนวชายแดน ไทย-กัมพูชา เป็นจุดผ่อนปรนในการค้าขายและผ่านแดนระหว่างไทย-กัมพูชา อยู่ที่ตำบลโซง อำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี เปิดทุกวัน 09.00 น. ถึง 15.00 น.
วิ่งไปทางอำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี มุ่งหน้าไปทางเขาพระวิหาร เมื่อเลยตัวอำเภอน้ำยืนไปได้ประมาณ 3 กิโลเมตร จะมีป้ายบอกทางแยกเข้าซ้ายมือที่จะไปช่องอานม้า ด้วยระยะทางที่ป้ายบอกเพียง 12 กิโลเมตร
เส้นทางเหมือนจะไกล้ๆ แต่ใช้เวลาเหมือนกันเพราะขึ้นลงคดโค้งไปตามสภาวะของภูเขา ช่องอานม้า ตั้งอยู่ในพื้นที่ บ้านน้ำยืน หมู่ที่ 6 ตำบลโซง อำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี
แนวเขตแดนระหว่างไทยกับกัมพูชา ลอดเส้นทางราดยางจะมีโอกาสได้ชมธรรมชาติป่าไม้สองข้างทาง แล้วเมื่อมาสุดทางราดยางก็จะเป็นสุดชายแดนประเทศไทย
สินค้าเขมรที่ดูจะมีการซื้อขายกันมากก็คืออาหารป่า พืชผลธรรมชาติเช่น หน่อหวายหรือ ยอดหวาย ซึ่งเป็นอาหารยอดนิยมของคนในพื้นที่มาก
และมีทั้งเครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องเงิน (สภาพตามราคา) ชุดกีฬา รวมถึงเฟอร์นิเจอร์ประเภทไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้มะค่า-ไม่เต็ง (ราคาไม่แพง)
ก่อนข้ามแดนไปฝั่งกัมเขมรจะมีฐานปฏิบัติการกองร้อยทหารพรานที่ 2308 ตรวจตราการเข้าออกผ่านแดนที่ช่องอานม้าแห่งนี้ รวมทั้ง ทำหน้าที่บันทึกชนิดและจำนวนสินค้าที่มีการนำผ่านเข้าออกด้วย ขออนุญาตเจ้าหน้าที่แล้ว ก็สามารถเดินเท้าข้ามแดนไปเที่ยวต่างประเทศได้เลย ที่ฝั่งเขมรมีป้อมยาม เห็นมีทหารเขมรเฝ้าอยู่คนเดียว นั่งดูคนเดินผ่านไปมาเฉย ๆ ไม่ต้องตรวจหรือจดบันทึกอะไร
ฝั่งเขมรเป็นพื้นที่บ้านสะเตียลกวาง อำเภอจอมกระสาน จังหวัดพระวิหาร มีตลาดการค้าปลูกสร้างเป็นเพิงไม้ไผ่ สินค้าที่วางขายดูประหนึ่งดิวตี้ฟรีแบบชาวบ้าน บุหรี่ เหล้า ที่ดูเก่าๆ แต่ซีดีเพลงและหนังไทยกลับเท่าทันความนิยม
ก่อนเดินทางกลับผมไม่รู้จะซื้ออะไรติดมือกลับดี....สุดท้ายตัดสินใจซื้อแผ่น MP3 รวมกันตรึมติดมือกลับบ้าน..
โพสแรกนะครับ...ผิดพลาดประการใดต้องขออภัยด้วยนะครับ
ขอบคุณข้อมูลบางส่วน จากเพจ โคเคอุบล นะครับ
บันทึกข้อมูลและถ่ายภาพโดย เทวราช บำรุงราช