โรคไข้เลือดออกไม่มียารักษา แนวทางการรักษา จึงรักษาตามอาการและประคับประคองคนไข้ให้ผ่านระยะเวลาสำแดงเดชของเชื้อโรคที่ได้รับ ปัจจัยประกอบที่แตกต่างกัน จะส่งผลต่อความรุนแรงต่อคนไข้ต่างกัน แต่มีแนวทางการรักษาเหมือนกันเพียงแต่เพิ่มระดับการดูแลให้ใกล้ชิดขึ้น
อาการของโรคติดเชื้อไข้เลือดออก
*** มีไข้สูง หนาวสั่น อาจมีอาการปวดเมื่อยตัวประกอบ ในตอนกลางคืน ช่วงเวลากลางวันจะเป็นปกติไม่แสดงไข้ใด ๆ
*** มีอาการ ไข้สูง สลับกัน 3 วัน แนะนำให้ ปรึกษาแพทย์ และขอตรวจเลือด สามารถตรวจเจอเชื้อไข้เลือดออกได้ 3 วัน หลังรับเชื้อ และยังเป็นระยะเวลาที่ยังสามารถจัดการรักษา ได้อย่างปลอดภัย
ความรุนแรงของโรค
*** มีความรุนแรง 4 ระดับ แยกได้ชัด ด้วยอาการช็อคในกรณีที่รุนแรง เนื่องจาก ไข้สูง อาจทำให้เพ้อ ขาดสติ และทำให้ช็อค ซึ่งเป็นสาเหตุส่งผลให้ ผู้ป่วยเสียชีวิต จากการที่ไม่สามารถให้การช่วยเหลือได้ทัน
เทคนิคการช่วยดูแลคนไข้ โดยคนในครอบครัว
1. ช่วยเช็ดตัวลดไข้ ผู้ป่วยทุก 2-4 ชั่วโมง หรือ ทุกครั้งที่มีไข้สูง การมีไข้สูง อาจทำให้ ช็อค หมดสติ ทำให้ยากในการช่วยเหลือชีวิต
2. การกินอาหารได้เอง ดีที่สุด ในการที่จะช่วยคนไข้ฟื้นตัว มีร่างกายแข็งแรง ต่อสู้กับเชื้อโรค เนื่องจาก โรคนี้ ทำให้เกร็ดเลือดลดลงอย่างมาก การกินอาหาร ทำให้ร่างกายสร้างภูมิต่อสู้ได้ดีกว่า การรับสารอาหารน้ำ (น้ำเกลือ) การรับน้ำเกลือเป็นเพียงการช่วยเสริม แต่แนวทางที่ดีที่สุด คือ กินเอง ผู้ป่วยอาจมีอาการเบื่ออาหาร อย่างมาก แต่ขอให้นึกไว้เสมอว่า เราช่วยร่างกายเราได้ด้วยการกินเท่านั้น จะมาก จะน้อย ก็ขอให้กิน ในรายที่มีอาการรุนแรง กินไม่ได้ อาเจียร แบบนี้ จะยุ่งยากในการรักษามากขึ้น ยิ่งบางรายเพ้อ ขาดสติ ไข้สูง จะทำให้เสี่ยงต่อการเสียชีวิตมากขึ้น
3. ให้ดื่มน้ำให้มากที่สุด 4-5 ลิตร ต่อวัน หรือ ดื่มไปเรื่อย ๆ หากไม่มีปัญหาเรื่องไต ก็จะขับออกมาเอง เหตุผลเพราะ เชื้อโรคจะทำให้ เส้นเลือดเปราะ แตกง่าย และมีการรั่วของพลาสม่า (เลือด น้ำเหลือง) ทั่วร่างกาย จึงต้องป้องกัน เส้นเลือดให้มีความแข็งแรงมากที่สุด นั่นคือ การดื่มน้ำ เพื่อทำให้ความเข้มข้นของเลือด และ เส้นเลือดปกติมากที่สุด ทำให้การไหลเวียนของเหลือดปกติ มากที่สุด การอมวิตามินซี จะช่วยทำให้เส้นเลือด แข็งแรง อีกทางหนึ่ง ในตอนนี้ ไม่ต้องกลัวจะรับ วิตามินซีเกิน ร่างกายจะขับออกเองหากเกิน แต่ ถ้าไม่พอ เส้นเลือดเปราะแตก เสี่ยงต่อการเสียชีวิตง่ายกว่า
***** เหล่านี้ คือ เคล็ดลับ ที่คนไข้ไม่ทราบ และ บุคคลากรทางการแพทย์ อาจให้ความสำคัญไม่มากพอ *****
สำหรับรายที่มีอาการรุนแรง กินเอง ไม่ได้ ทำให้ร่างกายอ่อนแอ ต้องให้น้ำเกลือ ซึ่งหากได้รับไม่มากพอ ก็จะมีปัญหาทำให้เส้นเลือด ขาดน้ำ เปราะ แตกง่าย เข้าทางของโรคไข้เลือดออก
การที่คนไข้ กินเองไม่ได้ ร่างกายอ่อนแอ ส่งผลต่อการมีไข้สูง เพ้อ ขาดสติ ช็อคในระยะต่อมา การช่วยลดไข้ร่างกายจึงต้อง อัดน้ำเข้าร่างกาย เพื่อลดไข้ ลดความร้อน อาจส่งผลต่อน้ำท่วมปอด ซึ่งเพิ่มความเสี่ยงในการรักษามากยิ่งขึ้น
ไข้เลือดออก ไม่น่ากลัว อย่างที่คิด หากได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด ป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดสิ่งที่ไม่คาดฝัน เนื่องจากไม่มียารักษา จึงมีแนวทางประคับประคองร่างกายให้แข็งแรง เพื่อต่อสู้กับเชื้อโรคเท่านั้น
จากประสบการณ์โดยตรงของ จขกท ซึ่งเป็นไข้เลือดออก และได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด จากพยาบาลวิชาชีพ
ขอขอบคุณข้อมูลที่เป็นประโยชน์ จาก
พี่ตุ้ม หัวหน้าแผนกวิสัญญี รพ.สงขลา ผู้ให้คำแนะนำในการดุแลคนไข้โดยคนในครอบครัว
พี่บุ้ง พี่สาวของ จขกท วิสัญญีพยาบาล รพ. สงขลา ซึ่งเห็นความสำคัญของการให้การดูแลคนไข้อย่างใกล้ชิด เพื่อลดความเสี่ยงของโรค
เกร็ดการดูแลคนไข้ โรคไข้เลือดออก โดยคนในครอบครัว
อาการของโรคติดเชื้อไข้เลือดออก
*** มีไข้สูง หนาวสั่น อาจมีอาการปวดเมื่อยตัวประกอบ ในตอนกลางคืน ช่วงเวลากลางวันจะเป็นปกติไม่แสดงไข้ใด ๆ
*** มีอาการ ไข้สูง สลับกัน 3 วัน แนะนำให้ ปรึกษาแพทย์ และขอตรวจเลือด สามารถตรวจเจอเชื้อไข้เลือดออกได้ 3 วัน หลังรับเชื้อ และยังเป็นระยะเวลาที่ยังสามารถจัดการรักษา ได้อย่างปลอดภัย
ความรุนแรงของโรค
*** มีความรุนแรง 4 ระดับ แยกได้ชัด ด้วยอาการช็อคในกรณีที่รุนแรง เนื่องจาก ไข้สูง อาจทำให้เพ้อ ขาดสติ และทำให้ช็อค ซึ่งเป็นสาเหตุส่งผลให้ ผู้ป่วยเสียชีวิต จากการที่ไม่สามารถให้การช่วยเหลือได้ทัน
เทคนิคการช่วยดูแลคนไข้ โดยคนในครอบครัว
1. ช่วยเช็ดตัวลดไข้ ผู้ป่วยทุก 2-4 ชั่วโมง หรือ ทุกครั้งที่มีไข้สูง การมีไข้สูง อาจทำให้ ช็อค หมดสติ ทำให้ยากในการช่วยเหลือชีวิต
2. การกินอาหารได้เอง ดีที่สุด ในการที่จะช่วยคนไข้ฟื้นตัว มีร่างกายแข็งแรง ต่อสู้กับเชื้อโรค เนื่องจาก โรคนี้ ทำให้เกร็ดเลือดลดลงอย่างมาก การกินอาหาร ทำให้ร่างกายสร้างภูมิต่อสู้ได้ดีกว่า การรับสารอาหารน้ำ (น้ำเกลือ) การรับน้ำเกลือเป็นเพียงการช่วยเสริม แต่แนวทางที่ดีที่สุด คือ กินเอง ผู้ป่วยอาจมีอาการเบื่ออาหาร อย่างมาก แต่ขอให้นึกไว้เสมอว่า เราช่วยร่างกายเราได้ด้วยการกินเท่านั้น จะมาก จะน้อย ก็ขอให้กิน ในรายที่มีอาการรุนแรง กินไม่ได้ อาเจียร แบบนี้ จะยุ่งยากในการรักษามากขึ้น ยิ่งบางรายเพ้อ ขาดสติ ไข้สูง จะทำให้เสี่ยงต่อการเสียชีวิตมากขึ้น
3. ให้ดื่มน้ำให้มากที่สุด 4-5 ลิตร ต่อวัน หรือ ดื่มไปเรื่อย ๆ หากไม่มีปัญหาเรื่องไต ก็จะขับออกมาเอง เหตุผลเพราะ เชื้อโรคจะทำให้ เส้นเลือดเปราะ แตกง่าย และมีการรั่วของพลาสม่า (เลือด น้ำเหลือง) ทั่วร่างกาย จึงต้องป้องกัน เส้นเลือดให้มีความแข็งแรงมากที่สุด นั่นคือ การดื่มน้ำ เพื่อทำให้ความเข้มข้นของเลือด และ เส้นเลือดปกติมากที่สุด ทำให้การไหลเวียนของเหลือดปกติ มากที่สุด การอมวิตามินซี จะช่วยทำให้เส้นเลือด แข็งแรง อีกทางหนึ่ง ในตอนนี้ ไม่ต้องกลัวจะรับ วิตามินซีเกิน ร่างกายจะขับออกเองหากเกิน แต่ ถ้าไม่พอ เส้นเลือดเปราะแตก เสี่ยงต่อการเสียชีวิตง่ายกว่า
***** เหล่านี้ คือ เคล็ดลับ ที่คนไข้ไม่ทราบ และ บุคคลากรทางการแพทย์ อาจให้ความสำคัญไม่มากพอ *****
สำหรับรายที่มีอาการรุนแรง กินเอง ไม่ได้ ทำให้ร่างกายอ่อนแอ ต้องให้น้ำเกลือ ซึ่งหากได้รับไม่มากพอ ก็จะมีปัญหาทำให้เส้นเลือด ขาดน้ำ เปราะ แตกง่าย เข้าทางของโรคไข้เลือดออก
การที่คนไข้ กินเองไม่ได้ ร่างกายอ่อนแอ ส่งผลต่อการมีไข้สูง เพ้อ ขาดสติ ช็อคในระยะต่อมา การช่วยลดไข้ร่างกายจึงต้อง อัดน้ำเข้าร่างกาย เพื่อลดไข้ ลดความร้อน อาจส่งผลต่อน้ำท่วมปอด ซึ่งเพิ่มความเสี่ยงในการรักษามากยิ่งขึ้น
ไข้เลือดออก ไม่น่ากลัว อย่างที่คิด หากได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด ป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดสิ่งที่ไม่คาดฝัน เนื่องจากไม่มียารักษา จึงมีแนวทางประคับประคองร่างกายให้แข็งแรง เพื่อต่อสู้กับเชื้อโรคเท่านั้น
จากประสบการณ์โดยตรงของ จขกท ซึ่งเป็นไข้เลือดออก และได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด จากพยาบาลวิชาชีพ
ขอขอบคุณข้อมูลที่เป็นประโยชน์ จาก
พี่ตุ้ม หัวหน้าแผนกวิสัญญี รพ.สงขลา ผู้ให้คำแนะนำในการดุแลคนไข้โดยคนในครอบครัว
พี่บุ้ง พี่สาวของ จขกท วิสัญญีพยาบาล รพ. สงขลา ซึ่งเห็นความสำคัญของการให้การดูแลคนไข้อย่างใกล้ชิด เพื่อลดความเสี่ยงของโรค