คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
เงิน ปันผล หักภาษี ณ ที่จ่าย 10%
เงิน ดอกเบี้ย หักภาษี ณ ที่จ่าย 15%
โดยทั้ง 2 ประเภท เมื่อหักภาษี ณ ที่จ่ายแล้ว สามารถจบได้เลย โดยเลือกไม่รวมเป็นเงินได้ ก็ได้ครับ
ดังนั้นถ้าเงินได้อื่นๆ (ที่ไม่รวมปันผล และดอกเบี้ย) อยู่ในระดับขั้นที่ต้องเสียภาษี ตั้งแต่ 15% ขึ้นไปอยู่แล้ว
การนำเงินได้จากปันผล และดอกเบี้ย ไปรวมเป็นเงินได้อีก ก็จะทำให้ส่วนของเงินได้สุทธิที่อยู่ในระดับที่
ต้องเสียสูงสุดเพิ่มเข้าไปอีกด้วยครับ .....
นั่นหมายถึง แทนที่จะเสียภาษี เท่าที่หัก ณ ที่จ่ายไป กลับต้องไปเสียในส่วนเพิ่มอีกด้วยครับ
เงิน ดอกเบี้ย หักภาษี ณ ที่จ่าย 15%
โดยทั้ง 2 ประเภท เมื่อหักภาษี ณ ที่จ่ายแล้ว สามารถจบได้เลย โดยเลือกไม่รวมเป็นเงินได้ ก็ได้ครับ
ดังนั้นถ้าเงินได้อื่นๆ (ที่ไม่รวมปันผล และดอกเบี้ย) อยู่ในระดับขั้นที่ต้องเสียภาษี ตั้งแต่ 15% ขึ้นไปอยู่แล้ว
การนำเงินได้จากปันผล และดอกเบี้ย ไปรวมเป็นเงินได้อีก ก็จะทำให้ส่วนของเงินได้สุทธิที่อยู่ในระดับที่
ต้องเสียสูงสุดเพิ่มเข้าไปอีกด้วยครับ .....
นั่นหมายถึง แทนที่จะเสียภาษี เท่าที่หัก ณ ที่จ่ายไป กลับต้องไปเสียในส่วนเพิ่มอีกด้วยครับ
แสดงความคิดเห็น
ชักจะงงเรื่องการคิดภาษีของเงินปันผล
ผมต้องเอามารวมตอนคิดภาษีอีกไม๊ครับ ถ้าฐานภาษี20%แล้ว
เคยไปเสียภาษีแล้ว สรรพากรบอกว่าปันผลจากLTFไม่ต้องยื่นแล้ว เพราะฐาน20%
แต่ก็ยังคำนวณภาษีเงินปันผลจากพันธบัตรไปอยู่ดี คิดย้อนไปแล้วงง ปีนี้เพิ่งเริ่มซื้อหุ้นอีก มีปันผลจากหุ้นมาเพิ่มอีกอย่าง
รบกวนอธิบายให้ผมเข้าใจหน่อยนะครับ ขอบคุณมากเลย