คำว่าประชาธิปไตย โดยสาระคือ เรื่องของ เนื้อความ อันเชื่อว่า มนุษย์มีความเท่าเทียมกัน
ไม่ใช ว่ากันด้วยรูปแบบ ว่ามีขั้นมีตอนอย่างไร
แต่หัวใจคือเนื้อหาว่า
มีความเท่าเทียมกันอย่างไร สิทธิ หน้าที่ และ เสรี คือหัวใจ
กรีกเองในอดีตแม้จะมีการประกาศตนว่าเป็นประชาธิปไตย ให้พลเรือนได้ มีส่วนในการออกแบบการปกครอง
แต่ ยังมีระบบทาส ไม่ได้มีความเคารพความเป็นมนุษย์ กดขี่ชนชั้นล่าง
แต่ในขณะที่เปอร์เซีย ซึ่งปกครองด้วยระบบ กษัตริย์ กลับไม่มีระบบทาส
และ มีการดูแล มนุษย์ ทุกคนอย่างทีควรจะเป็นในฐานะปัจเจก ปุถุชน
ความย้อนแย้งนี้อยู่ที่ว่าเรามองคำว่าประชาธิปไตยในมุมไหน
เนื้อหา หรือ กระบวนการ
ประชาธิปไตยของกรีก เป็นประชาธิปไตยลวง ที่ใช้เพียงกระบวนการในการแอบอ้างความเป็นประชาธิปไตย
ในขณะที่ เปอร์เซีย นั้นเป็นระบบรวมอำนาจ ที่มีสาระความเป็นประชาธิปไตยมากกว่า
แต่ก็มีความสุ่มเสี่ยงในเรื่อง ความเสถียรของศูนย์อำนาจ
แน่นอน ถ้าผู้ถืออำนาจของเปอร์เซียเปลี่ยนระบบคิด ความเป็นเนื้อหาของประชาธิปไตยก็สูญหายไป
วันนี้ ถ้าเราถามหาประชาธิปไตย
เราต้องถามหาทั้ง "กระบวนการกระจายอำนาจอันเป็นประชาธิปไตย" และ "เนื้อหาอันเป็นประชาธิปไตย"
การรัฐประหาร ไม่ใช่ และ ใกล้เคียงกระบวนการนี้
เช่นเดียวกับ การอ้าง เพียงขั้นตอนวิธีการเลือกตั้ง ก็ไมไ่ด้หมายถึง การยืนยันความเป็นประชาธิปไตย
ในมุมมองที่สั้นกว่า ในฐานะพลเมือง
เราต้องเริ่มจากการ เคารพกติกา อันเป็นประชาธิปไตย
และ ไ ม่ใช้กติกานั้นกดขี่ส่วนน้อย โดย ยึดมั่น ในความเท่าเทียมกันของ มนุษย์
ซึ่งในระบอบบแนวคิดประชาธิปไตยนั้น
คือ ความดีความชั่ววัดกันไม่ได้ ความฉลาดความโง่วัดกันไมไ่ด้ ทุกคนแค่เลือก และ ตรวจสอบ และ เลือกใหม่
ปัญหาของบ้านเมืองคือ
เรารู้สิทธิของเรา แต่เราละเมิดสิทธิของผู้อื่น
เรารู้เสรีของเรา แต่เราทำลายเสรีของผู้อื่น
เรารู้หน้าที่ของผู้อื่น แต่เราไม่รู้หน้าที่ของเรา
เริ่มที่ตรงนี้ สิทธิ เสรี หน้าที่ ประชาธิปไตย โดย เนื้อหา และกระบวนการ
จะรวมกันได้ ไม่วันใดก็วันหนึ่ง ซึ่งจะทำให้ไทยเราก้าวไปข้างหน้า อย่างมั่นคง
ประชาธิปไตย ในมุมมองของผม
ไม่ใช ว่ากันด้วยรูปแบบ ว่ามีขั้นมีตอนอย่างไร
แต่หัวใจคือเนื้อหาว่ามีความเท่าเทียมกันอย่างไร สิทธิ หน้าที่ และ เสรี คือหัวใจ
กรีกเองในอดีตแม้จะมีการประกาศตนว่าเป็นประชาธิปไตย ให้พลเรือนได้ มีส่วนในการออกแบบการปกครอง
แต่ ยังมีระบบทาส ไม่ได้มีความเคารพความเป็นมนุษย์ กดขี่ชนชั้นล่าง
แต่ในขณะที่เปอร์เซีย ซึ่งปกครองด้วยระบบ กษัตริย์ กลับไม่มีระบบทาส
และ มีการดูแล มนุษย์ ทุกคนอย่างทีควรจะเป็นในฐานะปัจเจก ปุถุชน
ความย้อนแย้งนี้อยู่ที่ว่าเรามองคำว่าประชาธิปไตยในมุมไหน
เนื้อหา หรือ กระบวนการ
ประชาธิปไตยของกรีก เป็นประชาธิปไตยลวง ที่ใช้เพียงกระบวนการในการแอบอ้างความเป็นประชาธิปไตย
ในขณะที่ เปอร์เซีย นั้นเป็นระบบรวมอำนาจ ที่มีสาระความเป็นประชาธิปไตยมากกว่า
แต่ก็มีความสุ่มเสี่ยงในเรื่อง ความเสถียรของศูนย์อำนาจ
แน่นอน ถ้าผู้ถืออำนาจของเปอร์เซียเปลี่ยนระบบคิด ความเป็นเนื้อหาของประชาธิปไตยก็สูญหายไป
วันนี้ ถ้าเราถามหาประชาธิปไตย
เราต้องถามหาทั้ง "กระบวนการกระจายอำนาจอันเป็นประชาธิปไตย" และ "เนื้อหาอันเป็นประชาธิปไตย"
การรัฐประหาร ไม่ใช่ และ ใกล้เคียงกระบวนการนี้
เช่นเดียวกับ การอ้าง เพียงขั้นตอนวิธีการเลือกตั้ง ก็ไมไ่ด้หมายถึง การยืนยันความเป็นประชาธิปไตย
ในมุมมองที่สั้นกว่า ในฐานะพลเมือง
เราต้องเริ่มจากการ เคารพกติกา อันเป็นประชาธิปไตย
และ ไ ม่ใช้กติกานั้นกดขี่ส่วนน้อย โดย ยึดมั่น ในความเท่าเทียมกันของ มนุษย์
ซึ่งในระบอบบแนวคิดประชาธิปไตยนั้น
คือ ความดีความชั่ววัดกันไม่ได้ ความฉลาดความโง่วัดกันไมไ่ด้ ทุกคนแค่เลือก และ ตรวจสอบ และ เลือกใหม่
ปัญหาของบ้านเมืองคือ
เรารู้สิทธิของเรา แต่เราละเมิดสิทธิของผู้อื่น
เรารู้เสรีของเรา แต่เราทำลายเสรีของผู้อื่น
เรารู้หน้าที่ของผู้อื่น แต่เราไม่รู้หน้าที่ของเรา
เริ่มที่ตรงนี้ สิทธิ เสรี หน้าที่ ประชาธิปไตย โดย เนื้อหา และกระบวนการ
จะรวมกันได้ ไม่วันใดก็วันหนึ่ง ซึ่งจะทำให้ไทยเราก้าวไปข้างหน้า อย่างมั่นคง