พลังประชาชนร่วมกันกับทุกองค์กรขับไล่องค์กรอิสระชื่อ
"ศาลรัฐธรรมนูญ"
กันเถอะ
ไม่มีใครยอมอยู่ใต้อำนาจอยุติธรรม
ขององค์กรอิสระภายใต้รัฐธรรมนูญ
ที่อ้างตัวเป็นตุลาการรัฐธรรมนูญ
เพราะบุคคลเหล่านี้ทำความเสียหายให้กับประเทศชาติอย่างใหญ่หลวง
ทั้งที่เป็นเรื่องราวที่ไม่น่าตัดสินผิดพลาดภายใต้อำนาจหน้าที่ตน?
เมื่อเวลา 14.00 น.วันที่ 23 เม.ย. ที่กองปราบปราม รศ.วรพล พรหมิกบุตร อาจารย์ประจำคณะสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เข้าพบพนักงานสอบสวน กก.1 บก.ป.เพื่อแจ้งความดำเนินคดีกับองค์คณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ในความผิดฐานกระทำการ หรือละเว้นกระทำการอันถือว่าเป็นการละทิ้งงาน หรือกระทำการอย่างใดๆ เพื่อให้งานหยุดชะงัก หรือเสียหาย โดยร่วมกระทำการเช่นนั้นตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 166 กรณีที่มีผู้ร้องโดยใช้สิทธิตามมาตรา 68 ของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 ว่ารัฐสภา กำลังพิจารณาร่างแก้ไขรัฐธรรมนุญ มาตรา 291 ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญ ก็วินิจฉัยว่าการกระทำของสมาชิกรัฐสภา เป็นการกระทำผิดต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ตามมาตรา 68 โดยที่ไม่มีการตรวจสอบข้อเท็จจริงจากอัยการสูงสุด ทั้งที่ผู้ร้องก็ได้ยื่นร้องให้อัยการสูงสุดไว้ด้วย
รศ.วรพล กล่าวอีกว่า นอกจากนี้ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญชุดปัจจุบัน ยังเคยใช้อำนาจซึ่งมีประเด็นโต้แย้งว่าการกระทำหรือละเว้นการกระทำของศาลรัฐธรรมนูญ อาจเข้าข่ายถูกพิจารณาสอบสวนดำเนินคดี กรณีการวินิจฉัยคดีของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตนายกรัฐมนตรี ผู้ล่วงลับ ว่าเป็นลูกจ้างผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ โดยใช้นิยามศัพท์ตามพจนานุกรม ซึ่งไม่ใช่บทบัญญัติของกฎหมาย ทำให้นายสมัคร ขาดคุณสมบัติต้องพ้นจากตำแหน่ง ซึ่งจากการกระทำทั้งสองกรณี อาจเข้าข่ายทำให้งานของศาลรัฐธรรมนูญ เสียหาย ตนจึงเข้าแจ้งความดำเนินคดีครั้งนี้
ผู้สื่อข่าวรายงานด้วยว่า นอกจาก รศ.วรพล แล้ว ยังมีกลุ่มผู้ดำเนินรายการวิทยุ และภาคประชาชน นำโดย นายธนชัย สีหิน หรือ “ดีเจหนุ่มวีคลอง 11” วิทยุชุมชน คลื่นเอฟเอ็ม 107.4 เมกะเฮิร์ต น.ส.สมพร ไชยมาตย์ หรือ “ดีเจอ้อม สาวดอกหญ้า” นางผุสดี แย้มสกุลณา หรือ “อาจารย์เป้า” ได้เข้าแจ้งความเพื่อให้ดำเนินคดีกับตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ในประเด็นเดียวกับที่ รศ.วรพล แจ้งความไว้ด้วย ซึ่งทั้งหมดระบุว่าเป็นการดำเนินการในส่วนของภาคประชาชน ส่วน รศ.วรพล นั้นดำเนินการในฐานะนักวิชาการ
เบื้องต้นพนักงานสอบสวน ระบุว่า ได้รับเรื่องและสอบปากคำผู้ร้องไว้ในเบื้องต้น ก่อนนำเรื่องเสนอผู้บังคับบัญชาพิจารณาสั่งการต่อไป
จะทำอย่างไรกันดีครับถ้าเหตุการณ์เป็นแบบนี้
"ศาลรัฐธรรมนูญ"
กันเถอะ
ไม่มีใครยอมอยู่ใต้อำนาจอยุติธรรม
ขององค์กรอิสระภายใต้รัฐธรรมนูญ
ที่อ้างตัวเป็นตุลาการรัฐธรรมนูญ
เพราะบุคคลเหล่านี้ทำความเสียหายให้กับประเทศชาติอย่างใหญ่หลวง
ทั้งที่เป็นเรื่องราวที่ไม่น่าตัดสินผิดพลาดภายใต้อำนาจหน้าที่ตน?
เมื่อเวลา 14.00 น.วันที่ 23 เม.ย. ที่กองปราบปราม รศ.วรพล พรหมิกบุตร อาจารย์ประจำคณะสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เข้าพบพนักงานสอบสวน กก.1 บก.ป.เพื่อแจ้งความดำเนินคดีกับองค์คณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ในความผิดฐานกระทำการ หรือละเว้นกระทำการอันถือว่าเป็นการละทิ้งงาน หรือกระทำการอย่างใดๆ เพื่อให้งานหยุดชะงัก หรือเสียหาย โดยร่วมกระทำการเช่นนั้นตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 166 กรณีที่มีผู้ร้องโดยใช้สิทธิตามมาตรา 68 ของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 ว่ารัฐสภา กำลังพิจารณาร่างแก้ไขรัฐธรรมนุญ มาตรา 291 ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญ ก็วินิจฉัยว่าการกระทำของสมาชิกรัฐสภา เป็นการกระทำผิดต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ตามมาตรา 68 โดยที่ไม่มีการตรวจสอบข้อเท็จจริงจากอัยการสูงสุด ทั้งที่ผู้ร้องก็ได้ยื่นร้องให้อัยการสูงสุดไว้ด้วย
รศ.วรพล กล่าวอีกว่า นอกจากนี้ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญชุดปัจจุบัน ยังเคยใช้อำนาจซึ่งมีประเด็นโต้แย้งว่าการกระทำหรือละเว้นการกระทำของศาลรัฐธรรมนูญ อาจเข้าข่ายถูกพิจารณาสอบสวนดำเนินคดี กรณีการวินิจฉัยคดีของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตนายกรัฐมนตรี ผู้ล่วงลับ ว่าเป็นลูกจ้างผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ โดยใช้นิยามศัพท์ตามพจนานุกรม ซึ่งไม่ใช่บทบัญญัติของกฎหมาย ทำให้นายสมัคร ขาดคุณสมบัติต้องพ้นจากตำแหน่ง ซึ่งจากการกระทำทั้งสองกรณี อาจเข้าข่ายทำให้งานของศาลรัฐธรรมนูญ เสียหาย ตนจึงเข้าแจ้งความดำเนินคดีครั้งนี้
ผู้สื่อข่าวรายงานด้วยว่า นอกจาก รศ.วรพล แล้ว ยังมีกลุ่มผู้ดำเนินรายการวิทยุ และภาคประชาชน นำโดย นายธนชัย สีหิน หรือ “ดีเจหนุ่มวีคลอง 11” วิทยุชุมชน คลื่นเอฟเอ็ม 107.4 เมกะเฮิร์ต น.ส.สมพร ไชยมาตย์ หรือ “ดีเจอ้อม สาวดอกหญ้า” นางผุสดี แย้มสกุลณา หรือ “อาจารย์เป้า” ได้เข้าแจ้งความเพื่อให้ดำเนินคดีกับตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ในประเด็นเดียวกับที่ รศ.วรพล แจ้งความไว้ด้วย ซึ่งทั้งหมดระบุว่าเป็นการดำเนินการในส่วนของภาคประชาชน ส่วน รศ.วรพล นั้นดำเนินการในฐานะนักวิชาการ
เบื้องต้นพนักงานสอบสวน ระบุว่า ได้รับเรื่องและสอบปากคำผู้ร้องไว้ในเบื้องต้น ก่อนนำเรื่องเสนอผู้บังคับบัญชาพิจารณาสั่งการต่อไป