กรณี ผมมีน้ำเสีย ที่มีค่า TDS สูง และวิเคราะห์แล้ว ส่วนมากมาจาก เกลือ ที่ละลายน้ำ
ซึ่ง ทาง กม กำหนดให้ปล่อยทิ้ง ไม่เกิน 3,000 ppm.
ซึ่งหากพิจารณา ต้นทุนดำเนินการแล้ว มีวิธีไหนที่จะพอทำได้บ้างครับ
ซึ่งผมลองหาทางแล้ว พบว่าหากใช้กระบวนการดังต่อไปนี้ ก็ไม่สามารถที่จะทำได้ ดังนี้
1) หากใช้ RO หรือ membrane ยังคงมี น้ำ Reject ซึ่งมีค่า TDS ที่สูงขึ้น จะต้องกักเก็บ และถ้าสะสมไว้อยู่ดี ต้นทุนการบำบัด อย่างน้อย 20 บาทต่อ ลบ.ม ยังไม่รวมการกำจัดน้ำ Reject ซึ่งยังไม่รู้ว่าจะกำจัดอย่างไรต่อไป
2) หากใช้ Evaporation มีค่าใช้จ่าย การให้พลังงาน อย่างน้อย 800 บาทต่อ ลบ.ม(แล้วแต่เชื้อเพลิง) ยังไม่รวมค่ากำจัดตะกอนของแข็ง ซึ่งดูแล้วไม่ เหมาะสมทางปฏิบัติ และทาง เศรษฐกิจ แน่ๆ
ท่านไดที่อยู่ในแวดวง รบกวรแชร์ความรู้ หรือ แนวคิดครับ
ขอบคุณครับ
( TAG สีลม : เผื่อท่านผู้ประกอบการที่มีลักษณะน้ำเสียของโรงงาน ที่มีเกลือ เป็นองค์ประกอบ และมีแนวทางออกครับ )
มีวิธีไหน สามารถลดค่า Total Dissolve Solid (TDS)จากระบบบำบัดน้ำเสีย
ซึ่ง ทาง กม กำหนดให้ปล่อยทิ้ง ไม่เกิน 3,000 ppm.
ซึ่งหากพิจารณา ต้นทุนดำเนินการแล้ว มีวิธีไหนที่จะพอทำได้บ้างครับ
ซึ่งผมลองหาทางแล้ว พบว่าหากใช้กระบวนการดังต่อไปนี้ ก็ไม่สามารถที่จะทำได้ ดังนี้
1) หากใช้ RO หรือ membrane ยังคงมี น้ำ Reject ซึ่งมีค่า TDS ที่สูงขึ้น จะต้องกักเก็บ และถ้าสะสมไว้อยู่ดี ต้นทุนการบำบัด อย่างน้อย 20 บาทต่อ ลบ.ม ยังไม่รวมการกำจัดน้ำ Reject ซึ่งยังไม่รู้ว่าจะกำจัดอย่างไรต่อไป
2) หากใช้ Evaporation มีค่าใช้จ่าย การให้พลังงาน อย่างน้อย 800 บาทต่อ ลบ.ม(แล้วแต่เชื้อเพลิง) ยังไม่รวมค่ากำจัดตะกอนของแข็ง ซึ่งดูแล้วไม่ เหมาะสมทางปฏิบัติ และทาง เศรษฐกิจ แน่ๆ
ท่านไดที่อยู่ในแวดวง รบกวรแชร์ความรู้ หรือ แนวคิดครับ
ขอบคุณครับ
( TAG สีลม : เผื่อท่านผู้ประกอบการที่มีลักษณะน้ำเสียของโรงงาน ที่มีเกลือ เป็นองค์ประกอบ และมีแนวทางออกครับ )