พื้นที่ปาไม้ได้หายไปในช่วง 34 ปีจากปี 2504-2538 มีจำนวน 88.84 ล้านไร่
แต่ในขณะเดียวกันพื้นที่ถือครองทำการเกษตรระยะดังกล่าว ปรากฏว่าเพิ่มชื้นประมาณ 81.83 ล้านไร่ (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2540) ข้อมูลนี้แสดงให้เห็นถึงประเด็นเกี่ยวกับทรัพยากร ป่าไม้ 2 ประการ คือ
(1) พื้นที่ป่าไม้สูญหายไปในห้วง 34 ปี ดังกล่าว มีจำนวนมากกว่าพื้นที่ถือครองการเกษตรที่เพิ่มชื้นในระยะเดียวกันประมาณ 7.01 ล้านไร่ สถานการณ์นี้แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ธรรมชาติส่วนหนึ่งที่สูญหายไปโดยมิได้ถูกนำมาใช้เป็นพื้นที่ถือครองการเกษตร
(2)ถึงแม้ว่าพื้นที่ธรรมชาติส่วนหนึ่งจะหายไปโดยไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์ เป็นพื้นที่ถือครองทางการเกษตร ซึ่งจะเป็นในรูปการให้สัมปทานป่าแก่ภาคเอกซน
การบุกรุกบำเพื่อสร้าง รีสอร์ท หรือสนามกอล์ฟ เป็นต้น แต่ข้อมูลนี้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า พื้นที่ธรรมชาติที่หายไป ส่วนใหญ่ กลายเป็นของพื้นที่ถือครองที่เพิ่มขึ้น หรือสรุปได้ว่าพื้นที่ครองของการเกษตรที่เพิ่มขึ้นในห้วง 34 ปี ที่ผ่านมานี้ ได้มาจากพื้นที่เดิมซึ่งเคยเป็นปาธรรมชาติพื้นที่ปาไม้ที่เปลี่ยนสภาพไปเป็นพื้นที่การเกษตรนี้เนื่องจากการเพิ่มของประชากรใน
ชนบทซึ่งจะเห็นได้ว่าข้อมูลประชากร ซึ่งได้จากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติและสำนักงานสถิติแห่งชาติ แสดงให้เห็นว่าในปี 2523 ประเทศไทยมีจำนวน ประชากรที่อาศัยอยู่ในชนบทรวมทั้งสิ้น 22.9 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 87.5 ของจำนวนประชากร ทั้งประเทศ และเพิ่มขึ้นเป็นจำนวน 30.5 ล้านคนในปี 2531
สำหรับในปี 2538 ประชากรในชนบท มีจำนวน 48.7 ล้านคน หรือประมาณร้อยละ 81.8 ของประชากรทั้งประเทศ
พื้นที่ปาไม้ได้หายไปในช่วง 34 ปีจากปี 2504-2538 มีจำนวน 88.84 ล้านไร่ ก่อน ❛ การอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 ❜
แต่ในขณะเดียวกันพื้นที่ถือครองทำการเกษตรระยะดังกล่าว ปรากฏว่าเพิ่มชื้นประมาณ 81.83 ล้านไร่ (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2540) ข้อมูลนี้แสดงให้เห็นถึงประเด็นเกี่ยวกับทรัพยากร ป่าไม้ 2 ประการ คือ
(1) พื้นที่ป่าไม้สูญหายไปในห้วง 34 ปี ดังกล่าว มีจำนวนมากกว่าพื้นที่ถือครองการเกษตรที่เพิ่มชื้นในระยะเดียวกันประมาณ 7.01 ล้านไร่ สถานการณ์นี้แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ธรรมชาติส่วนหนึ่งที่สูญหายไปโดยมิได้ถูกนำมาใช้เป็นพื้นที่ถือครองการเกษตร
(2)ถึงแม้ว่าพื้นที่ธรรมชาติส่วนหนึ่งจะหายไปโดยไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์ เป็นพื้นที่ถือครองทางการเกษตร ซึ่งจะเป็นในรูปการให้สัมปทานป่าแก่ภาคเอกซน
การบุกรุกบำเพื่อสร้าง รีสอร์ท หรือสนามกอล์ฟ เป็นต้น แต่ข้อมูลนี้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า พื้นที่ธรรมชาติที่หายไป ส่วนใหญ่ กลายเป็นของพื้นที่ถือครองที่เพิ่มขึ้น หรือสรุปได้ว่าพื้นที่ครองของการเกษตรที่เพิ่มขึ้นในห้วง 34 ปี ที่ผ่านมานี้ ได้มาจากพื้นที่เดิมซึ่งเคยเป็นปาธรรมชาติพื้นที่ปาไม้ที่เปลี่ยนสภาพไปเป็นพื้นที่การเกษตรนี้เนื่องจากการเพิ่มของประชากรใน
ชนบทซึ่งจะเห็นได้ว่าข้อมูลประชากร ซึ่งได้จากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติและสำนักงานสถิติแห่งชาติ แสดงให้เห็นว่าในปี 2523 ประเทศไทยมีจำนวน ประชากรที่อาศัยอยู่ในชนบทรวมทั้งสิ้น 22.9 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 87.5 ของจำนวนประชากร ทั้งประเทศ และเพิ่มขึ้นเป็นจำนวน 30.5 ล้านคนในปี 2531
สำหรับในปี 2538 ประชากรในชนบท มีจำนวน 48.7 ล้านคน หรือประมาณร้อยละ 81.8 ของประชากรทั้งประเทศ