“มาตรา 155 หรือ “ป.พ.พ. มาตรา 155” คืออะไร?
“มาตรา 155” หรือ “ป.พ.พ. มาตรา 155 “ คือ หนึ่งในมาตราของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ซึ่งบัญญัติไว้ว่า “ การแสดงเจตนาลวงโดยสมรู้กับคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งเป็นโมฆะ แต่จะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้บุคคลภายนอกผู้กระทำการโดยสุจริต และต้องเสียหายจากการแสดงเจตนาลวงนั้นมิได้
ถ้าการแสดงเจตนาลวงตามวรรคหนึ่งทำขึ้นเพื่ออำพรางนิติกรรมอื่น ให้นำบทบัญญัติของกฎหมายอันเกี่ยวกับนิติกรรมที่ถูกอำพรางมาใช้บังคับ “
สงสัยว่าความแตกต่างระหว่างการวางแผนภาษี VS นิติกรรมอำพรางตาม ป.พ.พ.มาตรา 155 นั้น อธิบดีกรมสรรพากรและนายกสภาวิชาชีพบัญชีต้องตรวจสอบนิติกรรมสัญญาต่างๆตามมาตรา 155 ป.พ.พ.ก่อนไหมนะ?
เมื่อรัฐบาลต้องเสียหายจากนิติกรรมอำพรางนี้แล้วหน่วยงานรัฐใดต้องรับผิดชอบไหม?
กรณีนายกใช้ตั๋ว P/N ซื้อหุ้นนั้น ถือเป็นการวางแผนภาษีหรือนิติกรรมอำพราง ซึ่งรัฐบาลและ ปชช เดือดร้อนเสียหายไหมนะ?
ซึ่งบัญญัติไว้ว่า “ การแสดงเจตนาลวงโดยสมรู้กับคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งเป็นโมฆะ แต่จะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้บุคคลภายนอกผู้กระทำการโดยสุจริต และต้องเสียหายจากการแสดงเจตนาลวงนั้นมิได้
ถ้าการแสดงเจตนาลวงตามวรรคหนึ่งทำขึ้นเพื่ออำพรางนิติกรรมอื่น ให้นำบทบัญญัติของกฎหมายอันเกี่ยวกับนิติกรรมที่ถูกอำพรางมาใช้บังคับ “