ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้นายสมัคร สุนทรเวช พ้นตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เมื่อปี 2551
ฐานเป็น "ลูกจ้าง" บริษัทเอกชน ทำกับข้าวออกทีวี รับค่าตอบแทน อันเป็นเรื่องขัดต่อคุณสมบัติผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
ขณะที่มีคำวินิจฉัย
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ 1 คน คือ นายจรัญ ภักดีธนากุล เป็นอาจารย์พิเศษสอนกฎหมายให้มหาวิทยาลัยรังสิต
ไม่ผิดฐานเป็น "ลูกจ้าง" โดยศาลรัฐธรรมนูญอ้างว่า อาจารย์พิเศษไม่ใช่ลูกจ้าง
แต่เป็นการทำหน้าที่เพื่อเป็นวิทยาทาน แม้จะรับค่าตอบแทนเช่นเดียวกันกับนายสมัคร
วันนี้ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ 1 คน
ที่กำลังเป็นข่าว โดนนิสิตนิติศาสตร์จุฬาฯ รุกไล่ในเรื่องวินิจฉัยยุบพรรคก้าวไกล
ซึ่งตุลาการคนนี้ก็เป็นอาจารย์พิเศษสอนกฎหมายคณะนิติศาสตร์จะฬา รับค่าตอบแทน
ประเทศนี้แปลก ไม่แค่ตำรากฎหมายมีปัญหา ตีความแบบแล้วแต่จะตีไปให้โดนธง
พจนานุกรมก็มีปัญหา คนหนึ่งถูกตีความว่าเป็น ลูกจ้าง แต่สำหรับตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ถูกตีความว่า ไม่เป็น ลูกจ้าง
ตูไม่ชินเว้ย...
สมัคร สุนทรเวช กับ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ในสถานะ "ลูกจ้าง"
ฐานเป็น "ลูกจ้าง" บริษัทเอกชน ทำกับข้าวออกทีวี รับค่าตอบแทน อันเป็นเรื่องขัดต่อคุณสมบัติผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
ขณะที่มีคำวินิจฉัย
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ 1 คน คือ นายจรัญ ภักดีธนากุล เป็นอาจารย์พิเศษสอนกฎหมายให้มหาวิทยาลัยรังสิต
ไม่ผิดฐานเป็น "ลูกจ้าง" โดยศาลรัฐธรรมนูญอ้างว่า อาจารย์พิเศษไม่ใช่ลูกจ้าง
แต่เป็นการทำหน้าที่เพื่อเป็นวิทยาทาน แม้จะรับค่าตอบแทนเช่นเดียวกันกับนายสมัคร
วันนี้ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ 1 คน
ที่กำลังเป็นข่าว โดนนิสิตนิติศาสตร์จุฬาฯ รุกไล่ในเรื่องวินิจฉัยยุบพรรคก้าวไกล
ซึ่งตุลาการคนนี้ก็เป็นอาจารย์พิเศษสอนกฎหมายคณะนิติศาสตร์จะฬา รับค่าตอบแทน
ประเทศนี้แปลก ไม่แค่ตำรากฎหมายมีปัญหา ตีความแบบแล้วแต่จะตีไปให้โดนธง
พจนานุกรมก็มีปัญหา คนหนึ่งถูกตีความว่าเป็น ลูกจ้าง แต่สำหรับตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ถูกตีความว่า ไม่เป็น ลูกจ้าง
ตูไม่ชินเว้ย...