เท่าที่สังเกต 2ตำแหน่งนี้ งาน Overload มาก
พนง.สอบสวน = คดีอาญาทั้งหลาย (งานอยู่ในกระบวนการก่อนฟ้องดำเนินการตั้งแต่เริ่มคดีสั่งฟ้อง ก่อนจะไปศาล)
เจ้าพนักงานบังคับคดี = ดำเนินการยึดทรัพย อายัดทรัพย์ ลูกหนี้ตามคำพิพากษา (จะเป็นงานที่อยู่ในช่วงกระบวนการหลังศาลมีคำพิพากษาแล้ว)
1.) ถ้ากรณีเจ้าพนักงานบังคับคดีนี่ก็งานหลายหน้า สำนวนเยอะมาก ทำยังไงก็ไม่ทัน ต้องเจอโจทก์จำเลยตัวแทนโจทก์ ทนายจำเลย มากหน้าหลายตา เพราะมันคือการดำเนินการบังคับคดีแพ่งตามคำสั่งศาล ซึ่งกระบวรรายละเอียดมันนี่ใช้กฎหมายเยอะมาก ฎีกาเต็มไปหมด ต้องแม่นจริงๆ ซึ่งบางคดีแม้จะทำงานมานานแล้วก็ตามทำไปนานแค่ไหนก็ยังไม่ชัวร์ บางสำนวนนี่ต้องตีความลึกมาก ต้องไปเปิดฎีกามาเทียบเคียงเพราะเป็นเรื่องทรัพย์สินของคนอื่น ถ้าไปยึดทรัพย์โดยไม่ชอบ ทำไม่ตรงตามกฎหมายก็โดนจำเลยหรือทนายจำเลยฟ้องได้เลย
หน้าที่เยอะ ในตำแหน่งเดียว ต้องนั่งเวรเค้าเต้อรับเรื่อง คำร้อง ต่างๆของ โจทก์จำเลย
ร่างขายทอดตลาด ไปขายทอดตลาดเอง บางคดีต้องไปศาลไปรายงานศาล ลงพื้นที่ไปยึดในสถานที่ตั้งทรัพย์กับเจ้าหนี้ ซึ่งเสี่ยงมากบางคดี ลูกหนี้ขัดขวางไม่ยอม
2.)ถ้ากรณีพนักงานสอบสวนนี่ก็คดีกระหน่ำเลย ถ้าเป็นคดีดังนี่ยิ่งเหนื่อย คดีหลาหหลาย ลัก วิ่ง ชิง ปล้น ข้อเท้จจริงมากหน้าหลายตา ระเบียบหน่วยงาน จุกจิกหลายอย่าง ดูน่าจะเครียด ถ้าทำผิดระเบียบของหน่วยงาน ก็อาจโดน ภาคทัณฑ์ หรือกักยาม
ขอความเห็นเพื่อนๆครับคิดว่า ใครหนักกว่าหรือหนักคนละแบบ
พนักงานสอบสวน vs นิติกร กรมบังคับคดี (เจ้าพนักงานบังคับคดี) ใครงานหนักกว่ากัน?
พนง.สอบสวน = คดีอาญาทั้งหลาย (งานอยู่ในกระบวนการก่อนฟ้องดำเนินการตั้งแต่เริ่มคดีสั่งฟ้อง ก่อนจะไปศาล)
เจ้าพนักงานบังคับคดี = ดำเนินการยึดทรัพย อายัดทรัพย์ ลูกหนี้ตามคำพิพากษา (จะเป็นงานที่อยู่ในช่วงกระบวนการหลังศาลมีคำพิพากษาแล้ว)
1.) ถ้ากรณีเจ้าพนักงานบังคับคดีนี่ก็งานหลายหน้า สำนวนเยอะมาก ทำยังไงก็ไม่ทัน ต้องเจอโจทก์จำเลยตัวแทนโจทก์ ทนายจำเลย มากหน้าหลายตา เพราะมันคือการดำเนินการบังคับคดีแพ่งตามคำสั่งศาล ซึ่งกระบวรรายละเอียดมันนี่ใช้กฎหมายเยอะมาก ฎีกาเต็มไปหมด ต้องแม่นจริงๆ ซึ่งบางคดีแม้จะทำงานมานานแล้วก็ตามทำไปนานแค่ไหนก็ยังไม่ชัวร์ บางสำนวนนี่ต้องตีความลึกมาก ต้องไปเปิดฎีกามาเทียบเคียงเพราะเป็นเรื่องทรัพย์สินของคนอื่น ถ้าไปยึดทรัพย์โดยไม่ชอบ ทำไม่ตรงตามกฎหมายก็โดนจำเลยหรือทนายจำเลยฟ้องได้เลย
หน้าที่เยอะ ในตำแหน่งเดียว ต้องนั่งเวรเค้าเต้อรับเรื่อง คำร้อง ต่างๆของ โจทก์จำเลย
ร่างขายทอดตลาด ไปขายทอดตลาดเอง บางคดีต้องไปศาลไปรายงานศาล ลงพื้นที่ไปยึดในสถานที่ตั้งทรัพย์กับเจ้าหนี้ ซึ่งเสี่ยงมากบางคดี ลูกหนี้ขัดขวางไม่ยอม
2.)ถ้ากรณีพนักงานสอบสวนนี่ก็คดีกระหน่ำเลย ถ้าเป็นคดีดังนี่ยิ่งเหนื่อย คดีหลาหหลาย ลัก วิ่ง ชิง ปล้น ข้อเท้จจริงมากหน้าหลายตา ระเบียบหน่วยงาน จุกจิกหลายอย่าง ดูน่าจะเครียด ถ้าทำผิดระเบียบของหน่วยงาน ก็อาจโดน ภาคทัณฑ์ หรือกักยาม
ขอความเห็นเพื่อนๆครับคิดว่า ใครหนักกว่าหรือหนักคนละแบบ