คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 2
1. สมมุติถ้าดาวฤกษ์มันฟิวชั่นธาตุต่าง ๆ จนหมดแล้วเหลือแค่เหล็ก ธาตุต่าง ๆ ก่อนหน้านี้จะหลงเหลืออยู่ไหมครับ เช่น ดาวฤกษ์กำลังใช้พลังจากคาร์บอน แล้วพอคาร์บอนหมดธาตุต่อมาที่ฟิวชั่นแทนคาร์บอนก็คือ นีออน แล้วธาตุคาร์บอนที่เกิดก่อนหน้านี้จะหายไปหมดเลยไหมครับเพราะดาวมันใช้คาร์บอนจนหมดแล้ว หรือมีบางส่วนของคาร์บอนหลุดไปรอบๆดาวฤกษ์ด้วยระหว่าการฟิวชั่น
ธาตุต่าง ๆ ที่เกิดก่อนหน้าเหล็ก จะยังอยู่ครบถ้วนเป็น shell fusion แบบเปลือกหอมใหญ่น่ะครับ อย่างเช่น ....
- เมื่อ Helium เกิด fusion กลายเป็น C เนื้อ H ด้านนอกก็ยังคง fusion ไปเป็น Helium อยู่
- และเมื่อ C fusion กลายเป็น Na Ne Mg .... เนื้อ Helium ด้านนอกก็ยัง fusion ไปเป็น C อยู่
- และเมื่อ Ne fusion กลายเป็น O Mg .... เนื้อ C ด้านนอกก็ยัง fusion ไปเป็น Ne อยู่
กลไกแบบ shell fusion อย่างนี้นี่เองครับ ที่ทำให้ไม่มีธาตุใดหมดไป ดูภาพประกอบครับ
https://scienceblogs.com/files/startswithabang/files/2015/07/1-biographyofa.jpg
2. แล้วแกนกลางของดาวฤกษ์จะเป็นของเข็งก็ตอนที่ธาตุซิลิกอนฟิวชั่นเป็นธาตุเหล็กใช่ไหมครับก่อนหน้านั้นยังเป็นกลุ่มก้อนแก๊สอยู่
เรื่องความแข็งของแกนกลางดาวฤกษ์ ผมไม่ทราบสิครับ ทราบแต่ว่าเหล็กที่แกนกลางดาวฤกษ์นั้น
เป็นสสารที่เรียกว่ degenerate matter ซึ่งก็คือสสารภายใต้ความกดดันมหาศาล สภาพของมันจะเป็นสิ่งที่ต้อง
อธิบายด้วย Quantum mechanics ในเรื่องของ electron ใน atom ของสสารประเภทนี้ ที่อยู่ในชั้นพลังงานเดียวกันได้
3. การเกิดดาวยักษ์แดงนี่ เกิดตอนไฮโดรเจนใกล้หมดดาวจึงเผาไฮโดรเจนรอบนอกๆแทน
แล้วค่อยๆหดตัวลงตามธาตุถัดๆไปที่เกิดฟิวชั่นรึปล่าวครับ
การพองตัวของดาวยักษ์แดง จะเกิดขึ้นเมื่อเชื้อเพลิง hydrogen เริ่มหมดลง และสะสม Helium ไว้ที่แกนกลาง
ณ จุดนี้ แกนกลางจะไม่มี radiation pressure จาก fusion เดิม ดังนั้น แกนกลางดาวจึงยุบตัวลง
ทำให้แกน Helium เกิดความร้อนสูงมากจนเกิด fusion ได้อีก และจากความร้อนมหาศาลนี้เอง ที่ทำให้ hydrogen รอบนอก
เกิด fusion ได้อีกครั้ง ซึ่ง fusion ในครั้งนี้จะมีพลังงานมากกว่าเดิม จึงดันเนื้อดาวออกไปจนพองตัวเป็น red giant ครับ
4. Electron degeneracy คืออะไรครับ
Electron degeneracy คือกลไกทาง Quantum mechanic ที่เกิดใน atom ตามหลักการกีดกันของเพาลี (Pauli Exclusion)
หลักการนี้กล่าวไว้ว่า electron จำนวน 2 ตัวขึ้นไปใน atom จะไม่สามารถมาอยู่ในตำแหน่งชั้นพลังงานเดียวกันได้ครับ
เมื่อสสารใด ๆ ถูกกดอัดอย่างมากจน electron มากองกันอยู่ที่ state ของชั้นพลังงานสูงสุดแล้ว มันจะเกิดเป็นกลไก "แรงต้าน"
ที่จะต้านก้อนสสารมิให้ยุบตัวลงไปได้อีกแล้วครับ กลไกแบบนี้เกิดในดาวแคระขาวอย่างชัดเจน ทำให้มันยังคงอยู่ได้
โดยไม่ยุบตัวลงไป และไม่มีพลังงานจาก fusion ใด ๆ อีกด้วย
5. entire chart of the isotopes with more than 2,000 entries, can be formed from supernovas. The key is neutrons. The supernova collapse and subsequent explosion is accompanied by an unimaginable flood of neutrons, which are the electrically neutral particles in the atom’s nucleus that define which isotope you have. Huge fluxes of energetic neutrons have a tendency to stick to any atomic nucleus that they find, so for a brief time—perhaps only a second—a significant fraction of all the existing nuclei in one of those exploding stars becomes crammed full of extra neutrons. These neutron-saturated isotopes then undergo another radioactive process called beta decay. An excess neutron inside the nucleus transforms into a positively charged proton, while a negatively charged electron goes flying off. The result is a new element with the element number. มันหมายความว่าหลังจากที่เกิดการระเบิดก็คือ Supernova นิวตรอนต่างๆที่ถูกอัดเเน่นอยู่ที่แกนตัวดาวฤกษ์ระเบิดกระจายออกมาแล้ว ไปผสมกับอะตอมของธาตุต่างๆ(เช่นพวกไฮโดรเจน ฮีเลียมพวกนี้รึปล่าวครับ) แล้วเกิด Beta decay ซึ่งทำให้เกิดธาตุใหม่ๆขึ้น ผมเข้าใจถูกไหมครับ
เข้าใจถูกแล้วครับ มันคือกระบวนการ Nucleosynthesis ด้วยวิธี neutron-capture process
6.Ion กับ Plasma นี่อันเดียวกันไหมครับ
Plasma คือ สถานะที่ 4 ของสสารครับ (3 สถานะที่เรารู้จักดี คือ ของแข็ง ของเหลว และ แก้ส)
Plasma เป็นลักษณะของ กลุ่มเมฆหมอก ของ Proton Neutron และ Electron .... ซึ่ง electron
ในกลุ่มหมอก plasma นี้ ไม่ได้ห้อมล้อมเกาะติดอยู่กับนิวเคลียสของ atom แล้ว หรือ อาจยังมีเกาะติด
อยู่กับนิวเคลียสบางส่วนครับ ซึ่ง atom ที่เสีย electron เหล่านี้เรียกว่า positive ION

Plasma พบได้ในดาวฤกษ์ทั่วไปครับ เพราะภายในดาวมีอุณหภูมิสูงมาก ในบ้านของเราก็มี plasma นะครับ
ที่ใกล้ตัสุด คือ หลอด Fluorescent นี่เอง ข้างในหลอด fluorescent จะบรรจุไอปรอทใว้ เมื่อเราเปิดสวิทช์
ตัว ballast จะทำให้เกิดแรงดันสูงปรากฏในหลอด นี่เองที่ทำให้ atom ของปรอทเกิดการ เสีย electron
และกลายเป็น ION นำไฟฟ้าได้ ตามคุณสมบัติของ plasma ครับ .... ไอปรอทเหล่านั้น คือ plasma ในตอนนั้น นั่นเอง
Plasma มีคุณสมบัติเด่นมาก ๆ คือ ถูกเหนี่ยวนำจากสนามแม่เหล็กได้ง่าย เพราะมันมีประจุ นั่นเองครับ
นี่เองที่สร้างประโยชข์จากมันได้ ประโยชน์อื่น ๆ ของ plasma ก็จะใช้ในห้องวิจัยในทางฟิสิกส์ ในเตาปฏิกรณ์ Fusion
ใช้ในเครื่องยนต์ ION ของยานสำรวจอวกาศด้วย ทั้งหมดนี้มีสิ่งที่เกี่ยวกันแน่นแฟ้น 2 อย่าง คือ Plasma กับ สนามแม่เหล็ก ครับ
ธาตุต่าง ๆ ที่เกิดก่อนหน้าเหล็ก จะยังอยู่ครบถ้วนเป็น shell fusion แบบเปลือกหอมใหญ่น่ะครับ อย่างเช่น ....
- เมื่อ Helium เกิด fusion กลายเป็น C เนื้อ H ด้านนอกก็ยังคง fusion ไปเป็น Helium อยู่
- และเมื่อ C fusion กลายเป็น Na Ne Mg .... เนื้อ Helium ด้านนอกก็ยัง fusion ไปเป็น C อยู่
- และเมื่อ Ne fusion กลายเป็น O Mg .... เนื้อ C ด้านนอกก็ยัง fusion ไปเป็น Ne อยู่
กลไกแบบ shell fusion อย่างนี้นี่เองครับ ที่ทำให้ไม่มีธาตุใดหมดไป ดูภาพประกอบครับ
https://scienceblogs.com/files/startswithabang/files/2015/07/1-biographyofa.jpg
2. แล้วแกนกลางของดาวฤกษ์จะเป็นของเข็งก็ตอนที่ธาตุซิลิกอนฟิวชั่นเป็นธาตุเหล็กใช่ไหมครับก่อนหน้านั้นยังเป็นกลุ่มก้อนแก๊สอยู่
เรื่องความแข็งของแกนกลางดาวฤกษ์ ผมไม่ทราบสิครับ ทราบแต่ว่าเหล็กที่แกนกลางดาวฤกษ์นั้น
เป็นสสารที่เรียกว่ degenerate matter ซึ่งก็คือสสารภายใต้ความกดดันมหาศาล สภาพของมันจะเป็นสิ่งที่ต้อง
อธิบายด้วย Quantum mechanics ในเรื่องของ electron ใน atom ของสสารประเภทนี้ ที่อยู่ในชั้นพลังงานเดียวกันได้
3. การเกิดดาวยักษ์แดงนี่ เกิดตอนไฮโดรเจนใกล้หมดดาวจึงเผาไฮโดรเจนรอบนอกๆแทน
แล้วค่อยๆหดตัวลงตามธาตุถัดๆไปที่เกิดฟิวชั่นรึปล่าวครับ
การพองตัวของดาวยักษ์แดง จะเกิดขึ้นเมื่อเชื้อเพลิง hydrogen เริ่มหมดลง และสะสม Helium ไว้ที่แกนกลาง
ณ จุดนี้ แกนกลางจะไม่มี radiation pressure จาก fusion เดิม ดังนั้น แกนกลางดาวจึงยุบตัวลง
ทำให้แกน Helium เกิดความร้อนสูงมากจนเกิด fusion ได้อีก และจากความร้อนมหาศาลนี้เอง ที่ทำให้ hydrogen รอบนอก
เกิด fusion ได้อีกครั้ง ซึ่ง fusion ในครั้งนี้จะมีพลังงานมากกว่าเดิม จึงดันเนื้อดาวออกไปจนพองตัวเป็น red giant ครับ
4. Electron degeneracy คืออะไรครับ
Electron degeneracy คือกลไกทาง Quantum mechanic ที่เกิดใน atom ตามหลักการกีดกันของเพาลี (Pauli Exclusion)
หลักการนี้กล่าวไว้ว่า electron จำนวน 2 ตัวขึ้นไปใน atom จะไม่สามารถมาอยู่ในตำแหน่งชั้นพลังงานเดียวกันได้ครับ
เมื่อสสารใด ๆ ถูกกดอัดอย่างมากจน electron มากองกันอยู่ที่ state ของชั้นพลังงานสูงสุดแล้ว มันจะเกิดเป็นกลไก "แรงต้าน"
ที่จะต้านก้อนสสารมิให้ยุบตัวลงไปได้อีกแล้วครับ กลไกแบบนี้เกิดในดาวแคระขาวอย่างชัดเจน ทำให้มันยังคงอยู่ได้
โดยไม่ยุบตัวลงไป และไม่มีพลังงานจาก fusion ใด ๆ อีกด้วย
5. entire chart of the isotopes with more than 2,000 entries, can be formed from supernovas. The key is neutrons. The supernova collapse and subsequent explosion is accompanied by an unimaginable flood of neutrons, which are the electrically neutral particles in the atom’s nucleus that define which isotope you have. Huge fluxes of energetic neutrons have a tendency to stick to any atomic nucleus that they find, so for a brief time—perhaps only a second—a significant fraction of all the existing nuclei in one of those exploding stars becomes crammed full of extra neutrons. These neutron-saturated isotopes then undergo another radioactive process called beta decay. An excess neutron inside the nucleus transforms into a positively charged proton, while a negatively charged electron goes flying off. The result is a new element with the element number. มันหมายความว่าหลังจากที่เกิดการระเบิดก็คือ Supernova นิวตรอนต่างๆที่ถูกอัดเเน่นอยู่ที่แกนตัวดาวฤกษ์ระเบิดกระจายออกมาแล้ว ไปผสมกับอะตอมของธาตุต่างๆ(เช่นพวกไฮโดรเจน ฮีเลียมพวกนี้รึปล่าวครับ) แล้วเกิด Beta decay ซึ่งทำให้เกิดธาตุใหม่ๆขึ้น ผมเข้าใจถูกไหมครับ
เข้าใจถูกแล้วครับ มันคือกระบวนการ Nucleosynthesis ด้วยวิธี neutron-capture process
6.Ion กับ Plasma นี่อันเดียวกันไหมครับ
Plasma คือ สถานะที่ 4 ของสสารครับ (3 สถานะที่เรารู้จักดี คือ ของแข็ง ของเหลว และ แก้ส)
Plasma เป็นลักษณะของ กลุ่มเมฆหมอก ของ Proton Neutron และ Electron .... ซึ่ง electron
ในกลุ่มหมอก plasma นี้ ไม่ได้ห้อมล้อมเกาะติดอยู่กับนิวเคลียสของ atom แล้ว หรือ อาจยังมีเกาะติด
อยู่กับนิวเคลียสบางส่วนครับ ซึ่ง atom ที่เสีย electron เหล่านี้เรียกว่า positive ION

Plasma พบได้ในดาวฤกษ์ทั่วไปครับ เพราะภายในดาวมีอุณหภูมิสูงมาก ในบ้านของเราก็มี plasma นะครับ
ที่ใกล้ตัสุด คือ หลอด Fluorescent นี่เอง ข้างในหลอด fluorescent จะบรรจุไอปรอทใว้ เมื่อเราเปิดสวิทช์
ตัว ballast จะทำให้เกิดแรงดันสูงปรากฏในหลอด นี่เองที่ทำให้ atom ของปรอทเกิดการ เสีย electron
และกลายเป็น ION นำไฟฟ้าได้ ตามคุณสมบัติของ plasma ครับ .... ไอปรอทเหล่านั้น คือ plasma ในตอนนั้น นั่นเอง
Plasma มีคุณสมบัติเด่นมาก ๆ คือ ถูกเหนี่ยวนำจากสนามแม่เหล็กได้ง่าย เพราะมันมีประจุ นั่นเองครับ
นี่เองที่สร้างประโยชข์จากมันได้ ประโยชน์อื่น ๆ ของ plasma ก็จะใช้ในห้องวิจัยในทางฟิสิกส์ ในเตาปฏิกรณ์ Fusion
ใช้ในเครื่องยนต์ ION ของยานสำรวจอวกาศด้วย ทั้งหมดนี้มีสิ่งที่เกี่ยวกันแน่นแฟ้น 2 อย่าง คือ Plasma กับ สนามแม่เหล็ก ครับ
แสดงความคิดเห็น
ธาตุต่างๆที่เกิดหลัง Supernova มาจากไหนครับ
1. สมมุติถ้าดาวฤกษ์มันฟิวชั่นธาตุต่างๆจนหมดแล้วเหลือแค่เหล็ก ธาตุต่างๆก่อนหน้านี้จะหลงเหลืออยู่ไหมครับ เช่น ดาวฤกษ์กำลังใช้พลังจากคาร์บอนแล้วพอคาร์บอนหมดธาตุต่อมาที่ ฟิวชั่นแทนคาร์บอนก็คือ นีออน แล้วธาตุคาร์บอนที่เกิดก่อนหน้านี้จะหายไปหมดเลยไหมครับเพราะดาวมันใช้คาร์บอนจนหมดแล้ว หรือมีบางส่วนของคาร์บอนหลุดไปรอบๆดาวฤกษ์ด้วยระหว่าการฟิวชั่น
2. แล้วแกนกลางของดาวฤกษ์จะเป็นของเข็งก็ตอนที่ธาตุซิลิกอนฟิวชั่นเป็นธาตุเหล็กใช่ไหมครับก่อนหน้านั้นยังเป็นกลุ่มก้อนแก๊สอยู่
3. การเกิดดาวยักษ์แดงนี่งเกิดตอนไฮโดรเจนใกล้หมดดาวจึงเผาไฮโดรเจนรอบนอกๆแทนแล้วค่อยๆหดตัวลงตามธาตุถัดๆไปที่เกิดฟิวชั่นรึปล่าวครับ
4. Electron degeneracy คืออะไรครับ
5. entire chart of the isotopes with more than 2,000 entries, can be formed from supernovas. The key is neutrons. The supernova collapse and subsequent explosion is accompanied by an unimaginable flood of neutrons, which are the electrically neutral particles in the atom’s nucleus that define which isotope you have. Huge fluxes of energetic neutrons have a tendency to stick to any atomic nucleus that they find, so for a brief time—perhaps only a second—a significant fraction of all the existing nuclei in one of those exploding stars becomes crammed full of extra neutrons. These neutron-saturated isotopes then undergo another radioactive process called beta decay. An excess neutron inside the nucleus transforms into a positively charged proton, while a negatively charged electron goes flying off. The result is a new element with the element number. มันหมายความว่าหลังจากที่เกิดการระเบิดก็คือ Supernova นิวตรอนต่างๆที่ถูกอัดเเน่นอยู่ที่แกนตัวดาวฤกษ์ระเบิดกระจายออกมาแล้ว ไปผสมกับอะตอมของธาตุต่างๆ(เช่นพวกไฮโดรเจน ฮีเลียมพวกนี้รึปล่าวครับ) แล้วเกิด Beta decay ซึ่งทำให้เกิดธาตุใหม่ๆขึ้น ผมเข้าใจถูกไหมครับ
6.Ion กับ Plasma นี่อันเดียวกันไหมครับ
ขอบคุณครับบบบบถามซะเยอะ อิอิ