หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
ม ห า ปุ ริ ส วิ ต ก ๘
กระทู้คำถาม
มหาสติปัฏฐาน 4
พระไตรปิฎก
ปฏิบัติธรรม
ศาสนาพุทธ
วิปัสสนากรรมฐาน
(๑)
ธรรมนี้เป็นธรรม
... ของบุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ๑
ดูกร ภิกษุ ท.! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้
มีความปรารถนาน้อย
ย่อม
ไม่ปรารถนา
ว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีความปรารถนาน้อย
เป็นผู้
สันโดษ
ย่อม
ไม่ปรารถนา
ว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้สันโดษ
เป็นผู้
สงัด
ย่อม
ไม่ปรารถนา
ว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้สงัด
เป็นผู้
ปรารภความเพียร
ย่อม
ไม่ปรารถนา
ว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า ปรารภความเพียร
เป็นผู้
มีสติตั้งมั่น
ย่อม
ไม่ปรารถนา
ว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีสติตั้งมั่น
เป็นผู้
มีจิตมั่นคง
ย่อม
ไม่ปรารถนา
ว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้มีจิตมั่นคง
เป็นผู้
มีปัญญา
ย่อม
ไม่ปรารถนา
ว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีปัญญา
เป็นผู้
ชอบใจในธรรมที่ ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า
ย่อม
ไม่ปรารถนา
ว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้ชอบใจในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า
______________________________________________________________________________________________
(๒)
... ของบุคคลผู้สันโดษ มิใช่ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ ๑
ดูกรภิกษุ ท.! ภิกษุในธรรม วินัยนี้
เป็นผู้สันโดษด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัช บริขาร ตามมีตามได้
______________________________________________________________________________________________
(๓)
... ของบุคคลผู้สงบสงัด มิใช่ของบุคคลผู้ยินดีในการคลุกคลีด้วยหมู่ ๑
ดูกรภิกษุ ท.! พวกภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พระราชา มหาอำมาตย์ของพระราชา
เดียรถีย์ และสาวกแห่งเดียรถีย์ เข้าไปหาภิกษุนั้น
ภิกษุมีจิตน้อมไป โอนไป เงื้อมไปในวิเวก ตั้งอยู่ในวิเวก ยินดีในเนกขัมมะ
ย่อมกล่าวกถาอันปฏิสังยุต ด้วยถ้อยคำตามสมควร ในสมาคมนั้นโดยแท้
______________________________________________________________________________________________
(๔)
... ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของบุคคลผู้เกียจคร้าน ๑
ดูกรภิกษุ ท.! ภิกษุในธรรมวินัยนี้
เป็นผู้ปรารภความเพียร
เพื่อละอกุศลธรรม เพื่อความถึงพร้อมแห่งกุศลธรรม
มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรม
______________________________________________________________________________________________
(๕)
... ของบุคคลผู้มีสติตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีสติหลงลืม ๑
ดูกรภิกษุ ท.! ภิกษุในธรรมวินัยนี้
เป็นผู้มีสติ ประกอบด้วยสติเครื่องรักษาตัวอย่างยิ่ง
ระลึกนึกถึงกิจที่ทำคำที่พูดแม้นานได้
______________________________________________________________________________________________
(๖)
... ของบุคคลผู้มีจิตตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น ๑
ดูกรภิกษุ ท.! ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้
เพราะสงัดจากกามอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงเข้าถึง
ปฐมฌาน
,
อันประกอบด้วยวิตกวิจาร,มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวกแล้วแลอยู่;
เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลงจึงเข้าถึง
ทุติยฌาน
, เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน
ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่
อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา, มีสติและสัมปชัญญะ, และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย,
ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า“เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้เธอย่อม เข้าถึง
ตติยฌาน
แล้วแลอยู่;
เพราะละสุขเสียได้, เพราะละทุกข์เสียได้, เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน,
เธอย่อมเข้าถึง
จตุตฌาน
, ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข, มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่
______________________________________________________________________________________________
(๗)
... ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม ๑
ดูกรภิกษุ ท.! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีปัญญา ประกอบด้วยปัญญาเครื่อง
พิจารณาความเกิดและความดับ
เป็นอริยะ ชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ
______________________________________________________________________________________________
(๘)
... ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ไม่ทำให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่ทำให้เนิ่นช้า
มิใช่ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ทำให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ทำให้เนิ่นช้า ๑
ดูกรภิกษุท. ! จิตของภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมแล่นไปเลื่อมใส ตั้งมั่นอยู่ในความดับกิเลสเป็นเครื่องเนิ่นช้า ย่อมหลุดพ้น
______________________________________________________________________________________________
" ผล ของ มหา ปุริส วิตก ๘ "
https://pantip.com/topic/38877047
ปรับปรุงจากกะทู้เดิม : " ม ห า ปุ ริ ส วิ ต ก ๘ "
https://pantip.com/topic/38254833
แก้ไขข้อความเมื่อ
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
นี่คืออะไร? ประกาศคณะสงฆ์ภาค 10 ธรรมยุต ‘ห้ามภิกษุสวดปาติโมกข์ภาษาไทย’ ทำพระธรรมวินัยวิปริต
พระราชบัณฑิต เจ้าคณะภาค 10 (ธรรมยุต) ได้ลงนามออกประกาศเจ้าคณะภาค 10 (ธรรมยุต ) เรื่อง พระพุทธบัญญัติให้พระภิกษุเรียนปาติโมกข์ และเรื่อง ห้ามภิกษุสวดปาติโมกข์ด้วยเสียงคำแปลเป็นภาษาไทย ระบุว่า ภิกษุท
สมาชิกหมายเลข 8801658
ว่าด้วยเรื่องปฏิจจสมุปบาท....
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เพราะอาศัยซึ่งธาตุทั้งหลาย ๖ ประการ การก้าวลงสู่ครรภ์ ย่อมมี; เมื่อการก้าวลงสู่ครรภ์ ยังมีอยู่, นามรูป ย่อมมี; เพราะ มีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ; เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จ
สมาชิกหมายเลข 3459975
พระพุทธเจ้าทรงตรัส เรื่อง จิตวิมุติ หรือการหลุดพ้นแห่งจิต
พระพุทธเจ้าทรงตรัส เรื่อง จิตวิมุติ หรือการหลุดพ้นแห่งจิต ไว้ใน พระไตรปิฎก เล่มที่ 14 ขุททกนิกาย อิติวุตตกะ บทนี้ชื่อว่า “ธาตุปัญญัติติกะ” ดังนี้ ” ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าจิตของภิกษุ
สมาชิกหมายเลข 2748147
เปิดธรรมที่ถูกปิด ✽ ✾ ✿ ❀ ❁ ❃ ❋ พระศาสดาตรัสวิธีสงัด จาก กาม จาก อกุศลธรรม ✽ ✾ ✿ ❀ ❁ ❃ ❋
✽ ✾ ✿ ❀ ❁ ❃ ❋ พระศาสดาตรัสวิธีสงัดจาก กามจากอกุศลธรรม ✽ ✾ ✿ ❀ ❁ ❃ ❋ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะท่านพระอนุรุทธะว่า ดีแล้วๆ อนุรุทธะ ถูกละ ที่เธอตรึกมหาปุริสวิตกว่า ธรรมนี้เป็นธรรมของบุคคลผู้มีความปรารถ
aunemaek2
ไม่ปรารถนาให้ผู้อื่นรู้ว่าตนเองมีธรรมะ เป็นธรรมะข้อหนึ่ง
การไม่อยากให้คนอื่นรู้ว่าเรามีธรรมะ จะทำให้ใจเราสงบมากขึ้น เพราะไม่กลัดกลุ้มและมัวกังวลอยู่กับการอยากให้คนอื่นรู้ความดีของเรา เราเองก็หม่นหมองไปเพราะกิเลสด้วย อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต ๑๐.
Real~Fine
จิตพระอรหันต์ วิมุติหลุดพ้นจากกิเลสอวิชชาแล้ว เป็นอมตธาตุ อมตธรรม นิพพานธาตุ
จิตพระอรหันต์ วิมุติหลุดพ้นจากกิเลสอวิชชาแล้ว เป็นอมตธาตุ อมตธรรม นิพพานธาตุ ย่อมเที่ยงฝ่ายเดียว ไม่เกิดดับ ไม่สูญสลาย ”ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ บรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข เ
สมาชิกหมายเลข 2748147
วิปัส
๑ สังวรปธาน สัมมัปปธาน4 1) สังวรปธาน เพียรระวังหรือปิดกั้น ทำให้นึกถึง เกมทำสวนปลูกต้นไม้ ทำฟาร์ม ก่อนอื่น เราต้องเอาหินทับหญ้า อันนี้ แล้วแต่จริตฮะ แล้วก็พอทับแล้ว หญ
สมาชิกหมายเลข 8593829
พลสูตร-พละ ๗ ประการนี้ ๗ ประการเป็นไฉน
พลสูตรที่ ๒ ดูกรภิกษุทั้งหลาย พละ ๗ ประการนี้ ๗ ประการเป็นไฉน คือ ศรัทธาพละ วิริยพละ หิริพละ โอตตัปปพละ สติพละ สมาธิพละ ปัญญาพละ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ศรัทธาพละเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธร
feroda
คาถาธรรมบท ภิกขุวรรคที่ ๒๕ ตั้งด้วยความไม่ประมาท
ความสำรวมด้วยจักษุเป็นความดี ความสำรวมด้วยหูเป็น ความดี ความสำรวมด้วยจมูกเป็นความดี ความสำรวม ด้วยลิ้นเป็นความดี ความสำรวมด้วยกายเป็นความดี ความ สำรวมด้วยวาจาเป็นความดี ความสำรวมด้วยใจเป็นความดี ค
ให้ทุกคนรักกัน
สิ่งที่พระพุทธเจ้าพยากรณ์ไว้ ตอนนี้ได้มาถึงแล้ว
ว่า สิ่งที่เป็นพุทธภาษิตต้องลบเลือนไปและมีคำแต่งใหม่โดยสาวกจะเข้ามาแทนที่.. ....ใสนอนาคต ภิกษุทั้งหลายจักไม่อบรมกาย ไม่อบรมจิต ไม่อบรมปัญญา เมื่อไม่อบรมกาย ไม่อบรมศีล ไม่อบรมจิต&
สมาชิกหมายเลข 8337078
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
มหาสติปัฏฐาน 4
พระไตรปิฎก
ปฏิบัติธรรม
ศาสนาพุทธ
วิปัสสนากรรมฐาน
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ :
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
ม ห า ปุ ริ ส วิ ต ก ๘
ดูกร ภิกษุ ท.! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีความปรารถนาน้อย
เป็นผู้สันโดษ ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้สันโดษ
เป็นผู้สงัด ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้สงัด
เป็นผู้ปรารภความเพียร ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า ปรารภความเพียร
เป็นผู้มีสติตั้งมั่น ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีสติตั้งมั่น
เป็นผู้มีจิตมั่นคง ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้มีจิตมั่นคง
เป็นผู้มีปัญญา ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีปัญญา
เป็นผู้ชอบใจในธรรมที่ ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้ชอบใจในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า
______________________________________________________________________________________________
(๒) ... ของบุคคลผู้สันโดษ มิใช่ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ ๑
ดูกรภิกษุ ท.! ภิกษุในธรรม วินัยนี้ เป็นผู้สันโดษด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัช บริขาร ตามมีตามได้
______________________________________________________________________________________________
(๓) ... ของบุคคลผู้สงบสงัด มิใช่ของบุคคลผู้ยินดีในการคลุกคลีด้วยหมู่ ๑
ดูกรภิกษุ ท.! พวกภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พระราชา มหาอำมาตย์ของพระราชา
เดียรถีย์ และสาวกแห่งเดียรถีย์ เข้าไปหาภิกษุนั้น
ภิกษุมีจิตน้อมไป โอนไป เงื้อมไปในวิเวก ตั้งอยู่ในวิเวก ยินดีในเนกขัมมะ
ย่อมกล่าวกถาอันปฏิสังยุต ด้วยถ้อยคำตามสมควร ในสมาคมนั้นโดยแท้
______________________________________________________________________________________________
(๔) ... ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของบุคคลผู้เกียจคร้าน ๑
ดูกรภิกษุ ท.! ภิกษุในธรรมวินัยนี้
เป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละอกุศลธรรม เพื่อความถึงพร้อมแห่งกุศลธรรม
มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรม
______________________________________________________________________________________________
(๕) ... ของบุคคลผู้มีสติตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีสติหลงลืม ๑
ดูกรภิกษุ ท.! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีสติ ประกอบด้วยสติเครื่องรักษาตัวอย่างยิ่ง
ระลึกนึกถึงกิจที่ทำคำที่พูดแม้นานได้
______________________________________________________________________________________________
(๖) ... ของบุคคลผู้มีจิตตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น ๑
ดูกรภิกษุ ท.! ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้
เพราะสงัดจากกามอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงเข้าถึงปฐมฌาน,
อันประกอบด้วยวิตกวิจาร,มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวกแล้วแลอยู่;
เพราะความที่วิตกวิจารทั้งสองระงับลงจึงเข้าถึงทุติยฌาน, เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน
ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่
อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา, มีสติและสัมปชัญญะ, และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย,
ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า“เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้เธอย่อม เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่;
เพราะละสุขเสียได้, เพราะละทุกข์เสียได้, เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน,
เธอย่อมเข้าถึงจตุตฌาน, ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข, มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่
______________________________________________________________________________________________
(๗) ... ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม ๑
ดูกรภิกษุ ท.! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีปัญญา ประกอบด้วยปัญญาเครื่องพิจารณาความเกิดและความดับ
เป็นอริยะ ชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ
______________________________________________________________________________________________
(๘) ... ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ไม่ทำให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่ทำให้เนิ่นช้า
มิใช่ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ทำให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ทำให้เนิ่นช้า ๑
ดูกรภิกษุท. ! จิตของภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมแล่นไปเลื่อมใส ตั้งมั่นอยู่ในความดับกิเลสเป็นเครื่องเนิ่นช้า ย่อมหลุดพ้น
______________________________________________________________________________________________
" ผล ของ มหา ปุริส วิตก ๘ " https://pantip.com/topic/38877047
ปรับปรุงจากกะทู้เดิม : " ม ห า ปุ ริ ส วิ ต ก ๘ " https://pantip.com/topic/38254833