คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 9
เอกชนสายอื่น เมื่อคืนว่าจะเขียนแล้วแต่กลัวว่าจะไกลประเด็นไป เห็นพี่เขียน ตลาดขวัญเขียนเลยเอามาเพิ่ม
แต่วัดลิงขบ เพิ่งรู้จริงๆ นะครับเนี่ย ว่าเคยเป็นต้นทางอีกแห่ง
(รู้จักวัดนี้ เคยผ่านไปมา เคยไปติดต่อโรงเรียนวัดนี้ แต่ไม่รู้เรื่องนี้)
รถไฟเอกชนที่ว่ากกันนี้ ล้วนเปิดก่อนสายไปต่างจังหวัดหรือ "รถไฟหลวง"
มีสายปากน้ำอีกแห่งครับ อยู่เยื้องฝั่งแม่น้ำกับ "คลองสาน"
เป็นต้นทางของกำเนิด "หัวลำโพง" ของจริงอยู่ต้นทาง "คลองหัวลำโพง" ที่ข้อเท็จจริง ถือว่าเป็นคนละสถานี กับ "สถานีกรุงเทพ"
ไม่รู้ว่าจะอนุโลมเป็นจุดเดียวกันได้หรือยัง แต่ที่เป็นของการถไฟเองใช้ทางการค่อนยังไปทาง "สถานีกรุงเทพ" มากกว่า
คือ "สถานีหัวลำโพง" ที่ใช้กันมาตั้งแต่รถไฟสายปากน้ำ อยู่ตรงข้ามกัน
เรื่องเดียวกัน กับคนที่ผ่านเส้นทางนั้น หลายคนอาจเคยงงว่า "วัดหัวลำโพง" ทำไมไปอยู่ไกลถึงสามย่านหลายกิโล
เพราะเดิมเป็นชื่อคลองที่ขุดสมัย ร. ๔
แต่ยุค ร. ๖ การขยายถนนพระรามที่ 4 คลองหัวลำโพงซึ่งขนานอยู่ริมถนน (ต่อจากคลองผดุงกรุงเกษม) เลยต้องถูกถมทิ้ง
จริงๆ เดิม 2 สถานีที่ว่า ก็อยู่ห่างเกือบครึ่งกิโล แล้วจึงย้ายมาใกล้กันเพื่อความสะดวก แต่ก็ยังถือว่าคนละสถานีกัน
"การสร้างสถานีใหม่เริ่มต้นขึ้นในพื้นที่ใกล้เคียงกับสถานีหัวลำโพงห่างกันเพียงแค่ข้ามถนน เพื่อหวังว่าจะได้เป็นการเชื่อมต่อของระบบรถไฟ 2 สายอย่างมีประสิทธิภาพ คนที่มาจากปากน้ำเมื่อเดินทางมาถึงหัวลำโพงแล้วก็ข้ามฝั่งไปสถานีกรุงเทพเพื่อต่อรถไปมณฑลทางเหนือหรือเมืองโคราชได้อย่างสะดวกสบาย"
https://readthecloud.co/rail-1/


ไหนๆ ก็เขียนแล้ว เมื่อคืนไปค้นเพิ่มเติม แต่ไม่ได้เขียนอย่างที่บอก
มีประวัติน่าสนใจ ว่าสายปากน้ำ มีส่วนร่วมในวิกฤติการณ์ รศ. 112 ด้วย มีคนแก่หัวใจวายตาย เพราะถูกลูกหลงจากการต่อสู้
ฝรั่งทหารเรือ ยศพลเรือโท ผู้ได้สัมปทานรถไฟเส้นทางนี้ เป็นรองผู้บัญชาการในเหตุการณ์นี้ด้วย และเป็นผู้อำนวยการป้องกันปากแม่น้ำ เดินทางมาปากน้ำด้วยรถไฟนี้
เพราะป้อมพระจุลจอมก็เป็นคนคนคุมการก่อสร้าง ที่ได้ใช้จริงในเหตุการณ์ รศ. 112
จริงๆ สืบเชื้อแสายมาจากที่ปรึกษา และเสนาสบดีของกษัตริย์ฝรั่งเศส แต่เชื้อสายเดนมาร์ก และอยู่ไทยนาน เป็นหุ้นส่วนรถรางเจริญกรุงด้วย และเป็นผู้จัดแจงในการนำเสด็จร.๕ เสด็จประพาสยุโรปด้วย รศ. 112 นำเดนมาร์ก เข้าร่วมรบด้วย
https://th.wikipedia.org/wiki/ทางรถไฟสายปากน้ำ

สังเกตจากแผนที่อีกที เรื่องอยู่เยื้องฝั่งแม่น้ำกับ "คลองสาน" ซ้ายมือด้านบนของแผนที่
แต่วัดลิงขบ เพิ่งรู้จริงๆ นะครับเนี่ย ว่าเคยเป็นต้นทางอีกแห่ง
(รู้จักวัดนี้ เคยผ่านไปมา เคยไปติดต่อโรงเรียนวัดนี้ แต่ไม่รู้เรื่องนี้)
รถไฟเอกชนที่ว่ากกันนี้ ล้วนเปิดก่อนสายไปต่างจังหวัดหรือ "รถไฟหลวง"
มีสายปากน้ำอีกแห่งครับ อยู่เยื้องฝั่งแม่น้ำกับ "คลองสาน"
เป็นต้นทางของกำเนิด "หัวลำโพง" ของจริงอยู่ต้นทาง "คลองหัวลำโพง" ที่ข้อเท็จจริง ถือว่าเป็นคนละสถานี กับ "สถานีกรุงเทพ"
ไม่รู้ว่าจะอนุโลมเป็นจุดเดียวกันได้หรือยัง แต่ที่เป็นของการถไฟเองใช้ทางการค่อนยังไปทาง "สถานีกรุงเทพ" มากกว่า
คือ "สถานีหัวลำโพง" ที่ใช้กันมาตั้งแต่รถไฟสายปากน้ำ อยู่ตรงข้ามกัน
เรื่องเดียวกัน กับคนที่ผ่านเส้นทางนั้น หลายคนอาจเคยงงว่า "วัดหัวลำโพง" ทำไมไปอยู่ไกลถึงสามย่านหลายกิโล
เพราะเดิมเป็นชื่อคลองที่ขุดสมัย ร. ๔
แต่ยุค ร. ๖ การขยายถนนพระรามที่ 4 คลองหัวลำโพงซึ่งขนานอยู่ริมถนน (ต่อจากคลองผดุงกรุงเกษม) เลยต้องถูกถมทิ้ง
จริงๆ เดิม 2 สถานีที่ว่า ก็อยู่ห่างเกือบครึ่งกิโล แล้วจึงย้ายมาใกล้กันเพื่อความสะดวก แต่ก็ยังถือว่าคนละสถานีกัน
"การสร้างสถานีใหม่เริ่มต้นขึ้นในพื้นที่ใกล้เคียงกับสถานีหัวลำโพงห่างกันเพียงแค่ข้ามถนน เพื่อหวังว่าจะได้เป็นการเชื่อมต่อของระบบรถไฟ 2 สายอย่างมีประสิทธิภาพ คนที่มาจากปากน้ำเมื่อเดินทางมาถึงหัวลำโพงแล้วก็ข้ามฝั่งไปสถานีกรุงเทพเพื่อต่อรถไปมณฑลทางเหนือหรือเมืองโคราชได้อย่างสะดวกสบาย"
https://readthecloud.co/rail-1/


ไหนๆ ก็เขียนแล้ว เมื่อคืนไปค้นเพิ่มเติม แต่ไม่ได้เขียนอย่างที่บอก
มีประวัติน่าสนใจ ว่าสายปากน้ำ มีส่วนร่วมในวิกฤติการณ์ รศ. 112 ด้วย มีคนแก่หัวใจวายตาย เพราะถูกลูกหลงจากการต่อสู้
ฝรั่งทหารเรือ ยศพลเรือโท ผู้ได้สัมปทานรถไฟเส้นทางนี้ เป็นรองผู้บัญชาการในเหตุการณ์นี้ด้วย และเป็นผู้อำนวยการป้องกันปากแม่น้ำ เดินทางมาปากน้ำด้วยรถไฟนี้
เพราะป้อมพระจุลจอมก็เป็นคนคนคุมการก่อสร้าง ที่ได้ใช้จริงในเหตุการณ์ รศ. 112
จริงๆ สืบเชื้อแสายมาจากที่ปรึกษา และเสนาสบดีของกษัตริย์ฝรั่งเศส แต่เชื้อสายเดนมาร์ก และอยู่ไทยนาน เป็นหุ้นส่วนรถรางเจริญกรุงด้วย และเป็นผู้จัดแจงในการนำเสด็จร.๕ เสด็จประพาสยุโรปด้วย รศ. 112 นำเดนมาร์ก เข้าร่วมรบด้วย
https://th.wikipedia.org/wiki/ทางรถไฟสายปากน้ำ

สังเกตจากแผนที่อีกที เรื่องอยู่เยื้องฝั่งแม่น้ำกับ "คลองสาน" ซ้ายมือด้านบนของแผนที่
แสดงความคิดเห็น
รถไฟสายวงเวียนใหญ่-แม่กลอง ทำไมไม่เชื่อมไปสถานีธนบุรีหรือหัวลำโพง ทำไมปล่อยให้โดดเดี่ยวเพราะการคมนาคมแบบราง?