รบกวนช่วยดูหน่อยครับ แปลโอเคหรือยังครับ?

税金に関心がありますか
คุณมีความสนใจเรื่องภาษีไหม?

普段の生活で税金を意識するのはどんな時だろうか。
ในชีวิตประจำวัน เราจะคำนึงถึงภาษีกันตอนไหนบ้างหรอ

人によって色々だろうが、給料をもらった時と買い物の時だと答える人も多いのではなかろうか。
คงจะมีคำตอบหลากหลาย ขึ้นอยู่กับบุคคลนั้นๆแต่คนที่ตอบว่าตอนได้เงินเดือน กับ ตอนซื้อของ คงจะมีคนตอบเยอะไม่ใช่หรอ

サラリーマンであれば、給与明細には源泉徴収された所得税、住民税の額が書かれている。
ถ้าเป็นมนุษย์เงินเดือนละก็คงจะเป็นตอนที่ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาถูกหัก และจำนวนเงินของภาษีท้องที่ที่เขียนไว้ในสลิปเงินเดือน

また、買い物でもらったレシートを見れば商品の価格に消費税がプラスされていることがわかる。
อีกทั้ง ถ้าดูจากใบเสร็จที่ได้ตอนซื้อของก็จะรู้ว่าถูกบวกภาษีมูลค่าเพิ่ม(vat) ในราคาสินค้า

それでは、課税制度そのものが不公平だと考えることはあるだろうか。
ถ้าเช่นนั้น ก็คงจะมีคนที่คิดว่าระบบการเรียกเก็บภาษีไม่ยุติธรรม

私が見たところでは、そこまで税金について関心を持つ人は少数派のようである。
เท่าที่ฉันเห็น จนกระทั่งตอนนี้มีคนส่วนน้อยที่ให้ความสนใจเกี่ยวกับภาษี

私は常々税金への無関心が政治への無関心に結びついているのではないかと考えている。
ฉันคิดว่าการที่ไม่สนใจภาษีมักจะสัมพันธ์กับการที่ไม่สนใจการเมืองไม่ใช่หรอ

税金は納めるもの、つまりお上の取り立てに従って支払うべきものだという発想が根強い。
ภาษีเป็นสิ่งที่ควรจ่าย กล่าวคือความคิดที่ว่าเป็นสิ่งที่ควรจ่ายตามการกำหนดของรัฐบาลมันฝังรากลึกไว้แล้ว

確かに納税は国民の義務であるが、納税者であればこそ、もっと税金について知るべきだと思う。
แน่นอนว่า การจ่ายภาษีเป็นหน้าที่ของประชาชน คิดว่าผู้เสียภาษีนี่แหละควรจะต้องรู้เกี่ยวกับภาษีให้มากขึ้น

その知ろうという姿勢が政治を良い方向へ導くことになるのではなかろうか。
ท่าทีที่อยากจะรู้ภาษี คงจะนำการเมืองไปในทิศทางที่ดีไม่ใช่หรอ

「どうせだれが政治をしたってそんなに変わらないんだから」という声を耳にすると、よけいにそう思う。
พอได้ยินเสียงที่บอกว่า ถึงแม้ว่าใครสักคนจะสนใจเรื่องการเมืองยังไงก็ไม่ได้เปลี่ยนแปลงอะไรมากนักหรอก ฉันก็กลับกลายเป็นคิดอย่างนั้นเหมือนกัน

課税が国民に公平なものかどうか判断する上で参考になる指標として二つ挙げておきたい。
อยากจะยกตัวอย่างสองตัวอย่างที่เป็นตัวบ่งชี้ที่ใช้อ้างอิงในการตัดสินว่า การเรียกภาษียุติธรรมกับประชาชนหรือไม่

一つは所得税などの「累進課税」で、もう一つは「直間比率」である。
ตัวอย่างแรกคือ อัตราภาษีก้าวหน้า อย่างเช่น ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอีกตัวอย่างหนึ่งคือ อัตราส่วนของภาษีทางตรงและภาษีทางอ้อม

日本では所得税と住民税は累進課税の方式をとっている。
ที่ญี่ปุ่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีท้องที่เป็นรูปแบบของการเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้า

高所得になればなるほど税金として取られる割合が増える仕組みである。
มีระบบที่ว่ายิ่งรายได้มาก อัตราการเก็บภาษีก็จะเพิ่มขึ้น

これが行き過ぎると、勤労意欲を失うあそれがあるが、高所得者も低所得者も全く同じでは、やはり不公平に感じる。
หากสิ่งนี้มากเกินไป เกรงว่าอาจจะสูญเสียความอยากที่จะทำงาน  แต่ผู้ที่มีรายได้มากและรายได้น้อยก็จะรู้สึกไม่ยุติธรรมเหมือนกัน

日本では戦後、段階的に税率が引き下げられ、現在の最高の税率は37%となり、図1に示すように主要先進国並みとなった。
ที่ญี่ปุ่นหลังสงคราม อัตราภาษีก็ลดลงเรื่อย ๆและอัตราภาษีสูงสุดในปัจจุบันคือ 37% ซึ่งเปรียบได้กับประเทศที่พัฒนาแล้วที่สำคัญดังแสดงในแผนภาพที่ 1

また、中・低所得者層の税負担が比較的低くなっていることもわかる。
อีกทั้งภาระภาษีของกลุ่มผู้ที่มีรายได้ปานกลางกลางกับผู้ที่มีรายได้น้อยค่อนข้างต่ำ

直間比率とは直接税と間接税の比率を示したものだ。
อัตราส่วนของภาษีทางตรงและทางอ้อม ชี้ให้เห็นถึงอัตราส่วนเปรียบเทียบของภาษีทางตรงและภาษีทางอ้อม

前者の代表例として所得税、法人税、住民税がある。
ตัวอย่างเด่นลำดับต้นๆ ก็จะมี ภาษีเงินได้ ภาษีนิติบุคคลและภาษีท้องที่

後者の代表例としては酒税やたばこ税のように個々の商品にかかるもの、そして商品・サービス全体にかかる消費税がある。
ตัวอย่างเด่นลำดับต่อมา ครอบคลุมถึงสินค้าแต่ละประเภทอย่างเช่นภาษีเหล้ากับภาษีบุหรี่แล้วก็มีภาษีมูลค่าเพิ่มที่ครอบคลุมไปถึงสินค้าและบริการทั้งหมด

徴税の仕組みを考えると、直接税が所得に応じてその税率が異なるのに対して、間接税は所得の高い低いにかかわらず、平等に課せられるものだと言える。
สามารถกล่าวได้ว่า ถ้าพิจารณาระบบการจัดเก็บภาษี ภาษีทางตรงอัตราภาษีจะแตกต่างกันตามรายได้สุทธิ ในขณะที่ภาษีทางอ้อมจะเรียกเก็บเท่ากันโดยไม่คำนึงว่ารายได้มากหรือน้อย

図2を見てわかるように、欧米の主要国と比較すると、日本は直接税の比率が高いほうだと言える。
ดังที่เห็นและทราบกันดีในแผนภาพที่ 2 กล่าวได้ว่าพอเปรียบเทียบกับประเทศที่สำคัญในฝั่งตะวันตกแล้ว ประเทศญี่ปุ่นมีอัตราภาษีทางตรงสูงกว่า

直間比率のバランスがどの程度ならいいのかというのは簡単には決まられないが、各国とも時代の変化に合わせて、公平な課税制度になるように努めている。
ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะตัดสินว่าความสมดุลของอัตราส่วนของภาษีทางตรงและภาษีทางอ้อมว่าควรจะอยู่ในระดับไหนดี แต่พยายามปรับให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัยแต่ละประเทศและทำให้ระบบการจัดเก็บภาษีนั้นยุติธรรม

特に日本の場合は今後急速に高齢化社会を迎えることになるため、もう少し間接税の方へシフトさせたほうがいいのではないかという指摘がある。
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีของประเทศญี่ปุ่นเพื่อที่จะต้อนรับกับสังคมผู้สูงอายุที่กำลังจะมาถึงในเร็วๆนี้ชี้ให้เห็นว่าควรจะเปลี่ยนเป็นภาษีทางอ้อมอีกสักหน่อยไม่ใช่เหรอ

すなわち、相対的に労働年代の人口が減少していくことを考えると、所得税よりも、間接税により高い比重を置き、課税の時期を労働年代中心から生涯にわたるものに広げていくほうが、税の公平という点で望ましいと考えるわけである。
กล่าวคือ พอพิจารณาว่าประชากรในวัยทำงานกำลังลดลงอย่างสัมพันธ์กันภาษีทางอ้อมมีความสำคัญเชิงเปรียบเทียบที่สูงมากกว่าภาษีเงินได้และจะเป็นการดีกว่าที่จะขยายช่วงเวลาเก็บภาษีตั้งแต่แรงงานส่วนใหญ่จนถึงตลอดชีวิตคิดว่านั่นเป็นสิ่งที่น่าพอใจในแง่ความเป็นธรรมของภาษี

国の側にしてみれば、財源お確保できないことには予算を組むことができない。
ถ้ามองจากมุมของประเทศชาติ ถ้าไม่สามารถหาแหล่งเงินทุนได้ก็จะไม่สามารถจัดงบประมาณได้

かといって、簡単にたくさん取れるところから取ろうとすれば国民は納得しまい。
อย่างไรก็ตาม ถ้าพยายามเก็บมามากๆอย่างง่ายล่ะก็ ประชาชนก็คงจะไม่ยอมรับ

どのような税制度が公平なのかは、国民の合意のもとに決めていく必要があろう。
ระบบภาษีแบบไหนที่ยุติธรรมกันเหรอก็คงจะต้องตัดตัดสินตามความเห็นพ้องของประชาชน

できるものなら高い消費税は払いたくないとは、だれもが思うことだが、だからといって、引き上げには何でも反対というわけにもいくまい。
ถ้าเป็นไปได้ละก็ ก็ไม่อยากจะจ่ายภาษีมูลค่าเพิ่มที่มันแพงๆไม่ว่าใครก็คิดอย่างนั้น แต่คงจะไม่สามารถคัดค้านอะไรได้เลยในการเพิ่มภาษี

本当に引き上げが必要なのかと考えることが、政治へと目を向けるきっかけになるはずだ。
การที่คิดว่าการเพิ่มภาษีมีความจำเป็นจริงๆเหรอ มันอาจจะกลายเป็นจุดเริ่มต้นในการหันมาจับตามองการเมืองเป็นแน่

税金に関して真に国民の意識が高まらない限り、天気予報ではないが、「怒りのち慣れるでしょう」で役人の言いなりで終わってしまう。
ตราบใดที่ประชาชนไม่คำนึงถึงภาษีอย่างจริงจังมากขึ้นแล้วล่ะก็มันไม่ใช่การพยากรณ์อากาศแต่เป็นการยอมจบลงด้วยการทำตามคำสั่งของเจ้าหน้าที่รัฐ
ด้วยความที่เคยชินกับความโกรธ

関心が持てないのなら、なぜそうなのか。
หากไม่มีความสนใจ ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น?

その辺から考えてみる必要がありそうだ。
ดูเหมือนว่ามีความจำเป็นที่จะต้องลองคิดจากมุมนั้น

仮にサラリーマンが源泉徴収ではなく、めいめいが確定申告をしなければならないとしたらどうだろうか。
สมมุติว่า จะเป็นอย่างไรถ้าพนักงานบริษัทแต่ละคนต้องยื่นเอกสารรายงานภาษีแทนการหักภาษี ณ ที่จ่าย

面倒なことはすべて人任せというのではいけないような気がする。
รู้สึกว่า เรื่องยุ่งยากแบบนี้ไม่ควรมอบหมายให้กับคนอื่นทั้งหมด
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่