คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 5
ความใจใหญ่
มักใช้ในกรณีมีสองฝ่าย คือฝ่ายให้ และฝ่ายรับ
ใจใหญ่ มุ่งได้ประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือถ้าตนเสียฝ่ายเดียวก็ เสียเพื่อความถูกทำนองคลองธรรม สามารถยอมรับได้
คือมีการจัดลำดับความสำคัญของสิ่งที่จะได้จะเสียอย่างรอบคอบ
ไม่ประมาณตน
อันนี้ใช้ได้ทั่วไป คือทำสิ่งที่เกินความสามารถของตน จึงให้ผลเป็นเรื่องราวที่เกินคาดคิด
เพราะไม่เคยรู้ว่าตัวเองไม่รู้ อาศัยที่คิดว่าตัวเองรู้ แล้วก็ทำลงไปโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์
หากทำโดยคิดว่าตัวเองเป็นคนใจใหญ่
ตัวเองอาจเสียฝ่ายเดียวโดยอีกฝ่ายก็อาจไม่ได้ประโยชน์อะไรจากการเสียสละนั้น
หรือตัวเองพังแถมอาจพาคนอื่นพังไปด้วย
มักใช้ในกรณีมีสองฝ่าย คือฝ่ายให้ และฝ่ายรับ
ใจใหญ่ มุ่งได้ประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือถ้าตนเสียฝ่ายเดียวก็ เสียเพื่อความถูกทำนองคลองธรรม สามารถยอมรับได้
คือมีการจัดลำดับความสำคัญของสิ่งที่จะได้จะเสียอย่างรอบคอบ
ไม่ประมาณตน
อันนี้ใช้ได้ทั่วไป คือทำสิ่งที่เกินความสามารถของตน จึงให้ผลเป็นเรื่องราวที่เกินคาดคิด
เพราะไม่เคยรู้ว่าตัวเองไม่รู้ อาศัยที่คิดว่าตัวเองรู้ แล้วก็ทำลงไปโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์
หากทำโดยคิดว่าตัวเองเป็นคนใจใหญ่
ตัวเองอาจเสียฝ่ายเดียวโดยอีกฝ่ายก็อาจไม่ได้ประโยชน์อะไรจากการเสียสละนั้น
หรือตัวเองพังแถมอาจพาคนอื่นพังไปด้วย
แสดงความคิดเห็น
ึคนใจใหญ่ กับคนที่ไม่รู้จักประมาณตนนี้ เหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร
เมื่ออ่านหัวข้อธรรมในหลักสัปปุริสธรรม ๗ รู้จักตน กับรู้จักประมาณ ตอนนี้ยังสงสัยอยู่
รบกวนยกตัวอย่างเทียบเคียงให้สักหน่อย ขอบคุณครับ