แพลนที่ไม่นิ่ง:บทเรียนจากกู้ขีพทีมหมูป่า
ธรรมรักษ์ การพิศิษฎ์
ประธานฝ่ายวิชาการสมาคมข้าราชการอาวุโสแห่งประเทศไทย
คนเราเรียนรู้กันตลอดชีวิตจริงๆ โดยเฉพาะในเรื่องการบริหารจัดการที่ดี
ผมต้องขอสารภาพว่า. แม้จะแก่เกินแกง ก็ไม่เคยหยุดเรียนรู้ ที่จะพัฒนาศักยภาพของตนเอง
มิให้เป็นภาระของสังคมความพยายามในการนำเยาวชนนักฟุตบอลทีมหมูป่าและโคชออกจากถ้ำ
ที่ยาวเหยียดหลายกิโล สลับซับซ้อน แสน
ทุรกันดาลแถมน้ำท่วมขังเต็มไปหมด. นับเป็นการสอนสิ่งที่เรียกว่า. Best case study
ในเรื่อง สภาวะผู้นำ จริงๆในอดีต เคย มีเส้นสายให้ได้มีโอกาส สอนวิชา ว่าด้วย การวางแผน
พัฒนาเศรษฐกิจสังคม การกำหนดนโยบาย. การบริหารจัดการกับการเปลี่ยนแปลง อะไรเทือกนี้
ในมหาวิทยาลัยหลายแห่งร่วมสิบปี
เสาว์ อาทิตย์ ไม่ว่างตีกอลฟ ยังไม่เคยได้นำ กรณีศึกษาชั้นเยี่ยมยอด อย่างเรื่องนี้ มาถกกับนักศึกษาเลย
ยุคดิจิตัล ที่เปิดโอกาสให้ตัวเองสามารถใช้เวทีนี้ สร้างห้องเรียนเสมือนจริง เขิญตัวเองมาเป็นวิทยากร.
เพื่อบรรยายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ว่าเราได้บทเรียนที่ถือว่าเป็น best case study จากเรื่องนี้
อะไรบ้าง โดยเฉพาะในเรื่อง
สภาวะผู้นำ ที่สามารถสร้างความสำเร็จในการบรรลุเป้าหมายที่ต้องการ ที่ไม่เรียกว่า แพลนแล้ว นิ่งอยู่
บนกระดาษได้
ผมสรุปบทเรียนจากกรณีศึกษาในเรื่องนี้ได้ดังนี้
1 สภาวะผู้นำ คือปัจจัยหลัก กรณีนี้ตอกย้ำ ผลการศึกษาที่ผมได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงในหลายๆ
องค์กรว่า ความสำเร็จหรือล้มเหลวขององค์กรขึ้นอยู่กับ สภาวะผู้นำจริงๆ
2 ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย นับได้ว่า เป็นผู้นำ ที่มีความสามารถมาก. ในการสร้างพลังร่วม เพื่อปฏิบัติ
ภาระกิจให้สำเร็จ. ผู้นำที่ดี มักจะสามารถสร้างสภาวะผู้นำให้เกิดขึ้นในทุกระดับขององค์กร ในกรณีนี้ มี
การพยายามระดมความร่วมมือจากทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน ชุมชน และมิตรประเทศให้มาร่วม เป็นเจ้าของ
เป้าหมาย และภาระกิจร่วมกัน คือ การนำทีมหมูป่าทั้ง13 ท่านออกมาให้ได้โดยปลอดภัย (. shared vision
and mission)
3 เมื่อทุกฝ่ายรู้สึกว่ามีส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการเป็นเจ้าของ ทั้งเป้าหมายและภาระกิจ ก็นำไปสู่การ
ทำงานร่วมกันแบบบูรณาการ เกิดค่านิยม รู้ รัก สามัคคี เกิดพลังร่วมในการทำงาน ตามพันธกิจเดียวกัน
ไร้พรมแดน ไม่มีหน้าที่ใครหน้าที่มัน กรมใครกรมมัน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ข้อมูลข่าวสาร กันอยู่
ตลอดเวลา (shared information)
4 เมื่อสร้างสภาวะผู้นำของทุกฝ่าย ให้ร่วมเป็นเจ้าของเป้าหมายภาระกิจ. แลกเปลี่ยนข้อมูลร่วมกันแล้ว
ก็ได้มีการ จัดตั้งกลุ่มที่ได้รับมอบหมายหน้าที่ เฉพาะด้าน มากมายหลายด้าน ที่มีความคล่องตัวยืดหยุ่น
ออกไปทำงาน ที่ล้วนแล้วแต่มุ่งไปสู่เป้าหมายร่วมกัน
ทีมที่ออกไปทำงานแต่ละทีม ออกไปทำงานโดยอิสสระ คล่องตัว
ยืดหยุ่นตามสถานะการณ์ แต่ ยึดมั่นในภาระกิจ และเป้าหมายร่วมกันอย่างไม่ท้อถอย
สรุปว่าในความเห็นผมที่อยากแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกรณีนี้ก็คือ
ความสำเร็จมากจาก สภาวะผู้นำ
ที่ มีทั้ง. สร้างการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ที่เรียกว่า empowering
ด้วยวิธีการShare information
นอกจากนี้ยังได้มีการสร้างสภาวะแวดล้อมต่างๆให้เอื้อต่อการมีส่วนร่วมปฏิบัติภาระกิจ ไปสู่เป้าหมายร่วมกัน
อีกมากมายทั้งการส่งกำลังบำรุง การอำนวยความสะดวกต่างๆอีกมากมายขออนุญาติตบท้ายหน่อยว่า การแปลง
แผนยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาทั้งหลาย ในระดับชาติ จะกลายเป็น แพลน นิ่ง แน่นอนหากไม่มาเรียนรู้บทเรียน
จากกรณีนี้กันจริงจังเราคิดวางแต่แผนอยู่บนกระดาษขากการมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของกันมากไปหรือเปล่า. การ
ติดอยู่ในกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง ก็เหมือนกับทีมหมูป่าติดถ้ำ. น่าจะนำบทเรียนการกู้ชีวิตหมูป่ามา
ทบทวนเรื่องเการแปลงสู่ภาคปฏิบัติอย่างจริงๆจัง
กันอย่างไรดี สังคมต้องช่วยกันคิดนะครับ
https://www.facebook.com/thammarak.karnpisit.5/posts/1688686094563874
ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย กับ ภาวะผู้นำ .../sao..เหลือ..noi
ธรรมรักษ์ การพิศิษฎ์
ประธานฝ่ายวิชาการสมาคมข้าราชการอาวุโสแห่งประเทศไทย
คนเราเรียนรู้กันตลอดชีวิตจริงๆ โดยเฉพาะในเรื่องการบริหารจัดการที่ดี
ผมต้องขอสารภาพว่า. แม้จะแก่เกินแกง ก็ไม่เคยหยุดเรียนรู้ ที่จะพัฒนาศักยภาพของตนเอง
มิให้เป็นภาระของสังคมความพยายามในการนำเยาวชนนักฟุตบอลทีมหมูป่าและโคชออกจากถ้ำ
ที่ยาวเหยียดหลายกิโล สลับซับซ้อน แสน
ทุรกันดาลแถมน้ำท่วมขังเต็มไปหมด. นับเป็นการสอนสิ่งที่เรียกว่า. Best case study
ในเรื่อง สภาวะผู้นำ จริงๆในอดีต เคย มีเส้นสายให้ได้มีโอกาส สอนวิชา ว่าด้วย การวางแผน
พัฒนาเศรษฐกิจสังคม การกำหนดนโยบาย. การบริหารจัดการกับการเปลี่ยนแปลง อะไรเทือกนี้
ในมหาวิทยาลัยหลายแห่งร่วมสิบปี
เสาว์ อาทิตย์ ไม่ว่างตีกอลฟ ยังไม่เคยได้นำ กรณีศึกษาชั้นเยี่ยมยอด อย่างเรื่องนี้ มาถกกับนักศึกษาเลย
ยุคดิจิตัล ที่เปิดโอกาสให้ตัวเองสามารถใช้เวทีนี้ สร้างห้องเรียนเสมือนจริง เขิญตัวเองมาเป็นวิทยากร.
เพื่อบรรยายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ว่าเราได้บทเรียนที่ถือว่าเป็น best case study จากเรื่องนี้
อะไรบ้าง โดยเฉพาะในเรื่อง
สภาวะผู้นำ ที่สามารถสร้างความสำเร็จในการบรรลุเป้าหมายที่ต้องการ ที่ไม่เรียกว่า แพลนแล้ว นิ่งอยู่
บนกระดาษได้
ผมสรุปบทเรียนจากกรณีศึกษาในเรื่องนี้ได้ดังนี้
1 สภาวะผู้นำ คือปัจจัยหลัก กรณีนี้ตอกย้ำ ผลการศึกษาที่ผมได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงในหลายๆ
องค์กรว่า ความสำเร็จหรือล้มเหลวขององค์กรขึ้นอยู่กับ สภาวะผู้นำจริงๆ
2 ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย นับได้ว่า เป็นผู้นำ ที่มีความสามารถมาก. ในการสร้างพลังร่วม เพื่อปฏิบัติ
ภาระกิจให้สำเร็จ. ผู้นำที่ดี มักจะสามารถสร้างสภาวะผู้นำให้เกิดขึ้นในทุกระดับขององค์กร ในกรณีนี้ มี
การพยายามระดมความร่วมมือจากทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน ชุมชน และมิตรประเทศให้มาร่วม เป็นเจ้าของ
เป้าหมาย และภาระกิจร่วมกัน คือ การนำทีมหมูป่าทั้ง13 ท่านออกมาให้ได้โดยปลอดภัย (. shared vision
and mission)
3 เมื่อทุกฝ่ายรู้สึกว่ามีส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการเป็นเจ้าของ ทั้งเป้าหมายและภาระกิจ ก็นำไปสู่การ
ทำงานร่วมกันแบบบูรณาการ เกิดค่านิยม รู้ รัก สามัคคี เกิดพลังร่วมในการทำงาน ตามพันธกิจเดียวกัน
ไร้พรมแดน ไม่มีหน้าที่ใครหน้าที่มัน กรมใครกรมมัน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ข้อมูลข่าวสาร กันอยู่
ตลอดเวลา (shared information)
4 เมื่อสร้างสภาวะผู้นำของทุกฝ่าย ให้ร่วมเป็นเจ้าของเป้าหมายภาระกิจ. แลกเปลี่ยนข้อมูลร่วมกันแล้ว
ก็ได้มีการ จัดตั้งกลุ่มที่ได้รับมอบหมายหน้าที่ เฉพาะด้าน มากมายหลายด้าน ที่มีความคล่องตัวยืดหยุ่น
ออกไปทำงาน ที่ล้วนแล้วแต่มุ่งไปสู่เป้าหมายร่วมกัน
ทีมที่ออกไปทำงานแต่ละทีม ออกไปทำงานโดยอิสสระ คล่องตัว
ยืดหยุ่นตามสถานะการณ์ แต่ ยึดมั่นในภาระกิจ และเป้าหมายร่วมกันอย่างไม่ท้อถอย
สรุปว่าในความเห็นผมที่อยากแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกรณีนี้ก็คือ
ความสำเร็จมากจาก สภาวะผู้นำ
ที่ มีทั้ง. สร้างการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ที่เรียกว่า empowering
ด้วยวิธีการShare information
นอกจากนี้ยังได้มีการสร้างสภาวะแวดล้อมต่างๆให้เอื้อต่อการมีส่วนร่วมปฏิบัติภาระกิจ ไปสู่เป้าหมายร่วมกัน
อีกมากมายทั้งการส่งกำลังบำรุง การอำนวยความสะดวกต่างๆอีกมากมายขออนุญาติตบท้ายหน่อยว่า การแปลง
แผนยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาทั้งหลาย ในระดับชาติ จะกลายเป็น แพลน นิ่ง แน่นอนหากไม่มาเรียนรู้บทเรียน
จากกรณีนี้กันจริงจังเราคิดวางแต่แผนอยู่บนกระดาษขากการมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของกันมากไปหรือเปล่า. การ
ติดอยู่ในกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง ก็เหมือนกับทีมหมูป่าติดถ้ำ. น่าจะนำบทเรียนการกู้ชีวิตหมูป่ามา
ทบทวนเรื่องเการแปลงสู่ภาคปฏิบัติอย่างจริงๆจัง
กันอย่างไรดี สังคมต้องช่วยกันคิดนะครับ
https://www.facebook.com/thammarak.karnpisit.5/posts/1688686094563874