คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 2
แต่เดิม พระราชโองการ กับ พระราชบัณฑูร เป็นศัพท์ของพระเจ้าแผ่นดินทั้งคู่ มีความหมายเหมือนกันว่า คำสั่ง โดยโบราณใช้คำว่า "พระราชโองการมานพระบัณฑูร" แปลความได้ประมาณว่า ด้วยประกาศิตแห่งพระอิศวรเจ้าขอสั่งให้...
และเวลาที่พระมหาอุปราชจะสั่งการในนามพระเจ้าแผ่นดิน ก็จะใช้คำว่าพระราชบัณฑูร มิได้ใช้ว่าพระราชโองการมานพระบัณฑูรเฉกเช่นพระเจ้าแผ่นดิน
มาตอนหลัง ถ้าจำไม่ผิด เคยอ่านว่ามาแยกชัดเจนก็ช่วงกรุงรัตนโกสินทร์นี้เอง โดยพระราชโองการใช้กับพระเจ้าแผ่นดิน พระราชบัณฑูรใช้กับพระยุพราชเท่านั้น อย่างที่ทราบกัน
และเวลาที่พระมหาอุปราชจะสั่งการในนามพระเจ้าแผ่นดิน ก็จะใช้คำว่าพระราชบัณฑูร มิได้ใช้ว่าพระราชโองการมานพระบัณฑูรเฉกเช่นพระเจ้าแผ่นดิน
มาตอนหลัง ถ้าจำไม่ผิด เคยอ่านว่ามาแยกชัดเจนก็ช่วงกรุงรัตนโกสินทร์นี้เอง โดยพระราชโองการใช้กับพระเจ้าแผ่นดิน พระราชบัณฑูรใช้กับพระยุพราชเท่านั้น อย่างที่ทราบกัน
แสดงความคิดเห็น
สงสัยจากบุพเพสันนิวาส ทำไมคำสั่งของพระนารายณ์ถึงใช้ พระบัณฑูร
ส่วนพระมหากษัตริย์จะใช้พระบรมราชโองการ
แต่สังเกตจากในเรื่อง บุพเพสันนิวาส เวลาอ้างที่คำสั่งของพระนารายณื ทำไมถึงใช้พระบัณฑูร