จากข้อมูลที่เผยแพร่ออกมา บอกว่า ระบบสัมปทาน (หลังหักค่าใช้จ่ายลงทุนแล้ว) รัฐได้ส่วนแบ่ง 71% เอกชนผู้รับสัมปทานได้แค่ 29%
ส่วนนะบบ PSC รัฐได้แค่ 58% เอกชนได้ถึง 42 %
แบบนี้ ระบบสัมปทาน ประเทศได้ผลตอบแทนมากกว่า สามารถเก็บค่าภาคหลวงและภาษีพิเศษต่างๆ ได้ตามกฏหมาย เพราะรัฐเป็นเจ้าของปิโตรเลียม แถมยังเป็นการประมูลตรงไปตรงมามีสัญญามาตรฐาน โปร่งใส ตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน แต่ระบบ PSC มักเป็นการเจรจาแต่ละสัญญา อาจเป็นช่องทางให้แทรกแซงโดยมิชอบ (อย่างที่อินโดนีเซีย CEO บรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติเคยถูกจับข้อหาคอร์รัปชั่น) แถมระบบ PSC ทำให้การพัฒนาความมั่นคงทางพลังงานของประเทศล่าช้า อาจจะต้องนำเข้าพลังงานมากขึ้น ค่าไฟฟ้าจะแพงขึ้นอย่างรวดเร็วนะ
ส่วนประเทศที่ใช้ระบบสัมปทานพลังงานปิโตเลียม ก็มีประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา กลุ่มประเทศในยุโรปและสแกนดิเนเวียทั้งหมด ออสเตรเลีย ญี่ปุ่นก็ประเทศที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาปิโตรเลียมอย่างมีธรรมาภิบาลจะใช้ระบบสัมปทานค่ะ
สัมปทานน้ำมัน vs ระบบแบ่งปันผลผลิต (PSC) ต่างกันยังไง? อันไหนได้ผลประโยชน์มากกว่ากัน ? ประเทศไหนใช้บ้าง?
ส่วนนะบบ PSC รัฐได้แค่ 58% เอกชนได้ถึง 42 %
แบบนี้ ระบบสัมปทาน ประเทศได้ผลตอบแทนมากกว่า สามารถเก็บค่าภาคหลวงและภาษีพิเศษต่างๆ ได้ตามกฏหมาย เพราะรัฐเป็นเจ้าของปิโตรเลียม แถมยังเป็นการประมูลตรงไปตรงมามีสัญญามาตรฐาน โปร่งใส ตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน แต่ระบบ PSC มักเป็นการเจรจาแต่ละสัญญา อาจเป็นช่องทางให้แทรกแซงโดยมิชอบ (อย่างที่อินโดนีเซีย CEO บรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติเคยถูกจับข้อหาคอร์รัปชั่น) แถมระบบ PSC ทำให้การพัฒนาความมั่นคงทางพลังงานของประเทศล่าช้า อาจจะต้องนำเข้าพลังงานมากขึ้น ค่าไฟฟ้าจะแพงขึ้นอย่างรวดเร็วนะ
ส่วนประเทศที่ใช้ระบบสัมปทานพลังงานปิโตเลียม ก็มีประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา กลุ่มประเทศในยุโรปและสแกนดิเนเวียทั้งหมด ออสเตรเลีย ญี่ปุ่นก็ประเทศที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาปิโตรเลียมอย่างมีธรรมาภิบาลจะใช้ระบบสัมปทานค่ะ