...เรื่องหัวข้อเป็นคำปราชญ์โบราณ ที่พากล่าวคำ นัยให้ คำนึงมิตร พิชิตศัตรู จะเกี่ยวข้องกับหัวข้ออย่างไรจะได้อธิบาย ดังนี้:-
ความจากเหตุการณ์และข้อเรื่องจากหลายๆแห่ง ที่สำคัญการกล่าวถึงการผูกมิตรพิชิตใจนี่คุยเป็นมาก เช่นทำนองว่า หาทางผูกมิตรสร้างเครือข่าย เพื่อให้เกิดความเกรงใจจากฝ่ายโน้น ฝ่ายนี้ ฝ่ายนั้น คนนี้ คนนั้น คือคำนี้!ได้ความคมคาย ได้ใจอยู่ ได้ใจอยู่บ้าง แต่ทีเดียวกันนั้น ก็ระคายใจอยู่บ้าง คิดว่าความข้อนี้ สู้คำว่า ‘ ไม่มีมิตรแท้ และศัตรูที่ถาวร ’ (ดูข้อนี้จะความหมายเป็นธรรม แต่เพื่อนๆจะคิดอย่างเดียวกันนี้หรือไม่ตอนนี้ยังไม่ทราบ) ไม่ได้
ไอ้เรื่องสู้ และฟันฝ่าอุปสรรคก็ดีด้วยพิชิตศัตรูนั่น! แต่ก็เป็นเชิงเปรียบเทียบ เพราะให้ลองได้อ่านนิทานชาดกแล้วจะพบความหมายที่เป็นอย่างประการหลังนี้ซะมากกว่า ที่กล่าวว่า
ไม่มีมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร! แต่คำนี้ เป็นคำทางร้ายในทางปัจจุบันนี้ เพราะไปเกิดเหตุการณ์สำหรับใช่เล่ห์กลหักหลังกันทางการค้าหากำไร แล้วพูดคำนี้ขึ้นมา สนับสนุนต่อเหตุการณ์ที่เปลี่ยนไปแล้ว
เมื่ออ่านนิทานชาดก แล้วพบที่มีความสะท้อนเหตุเล่ามาเป็นนานเหมือนกัน แต่ในเรื่องนั้นสัตว์ที่จะทำตามคำสอนนั้น ทำไม่ได้! มันยอมเจ็บปวดและเสียหายร้ายแรงมากกว่าที่จะยอมทำตามคำสอน ในเรื่องนี้ พระพุทธเจ้าไม่ได้กล่าวถึงเรื่องการผูกมิตร (สมัยปัจจุบันนี้นิยมยุยงให้เกิดการหาทางผูกมิตรสร้างเครือข่าย) แต่ที่พระพุทธะเปรียบเทียบสอนนั้น สอนว่า ‘
ธรรมดาชาติบัณฑิตก็จะกลับคืนดีกันด้วยเหตุเพราะว่าเป็นบัณฑิต แต่ว่าวิวาทบาดหมางนั้นจะกลับดีไม่ได้เลยเพราะเป็นพาล ’ เป็นประมาณนี้ แล้วเรื่องจึงเล่าด้วยทางจะเล่าความหมาย มาถึงเพื่อนๆด้วย แต่ข้อชัดเจนที่อยู่ในพระไตรปิฎกนั้น ต้องค้นหาดูอีกครั้ง ดูว่าอยู่ตรงไหน. ข้อนี้พูดมานี้เพราะว่าพบเห็นคนที่พยายามอยู่ดั่งเดิมนั่นเอง คือแก้ปัญหาบาดหมางขัดแย้ง ด้วยการหาทางผูกมิตรสร้างเครือข่ายอยู่อย่างนั้นเอง และเพราะดูแล้วว่าปัญหาจะไม่จบ ก็อย่างที่อ้างและเป็นไปให้ปลุกเร้ากันไปดั่งความในหัวข้อนั้น
เพราะว่าการกล่าวถึงศัตรูดังข้อคำถามนั้น เป็นทีเสนอให้เข้าใจ ว่า ใครๆต่อใคร ก็ไม่ควรเลยที่เราจะมีศัตรูแม้สักคนเดียว ข้อหัวเรื่องชนิดนี้ไม่ได้แนะนำว่าให้ต้องไปหาผูกมิตรสร้างเครือข่ายไว้มากๆ เรื่อยไป ก็เลยแล้วเรื่องกัน ว่า คนพากันเข้าใจไปทาง
500 นั่น!
แล้วก็เลยพากันทำ (ฯ..)

○
ผูกมิตร สร้างเครือข่าย
มีมิตร 500 ก็นับว่าน้อย ศรัตรูเพียงหนึ่งก็นับว่ามาก
ความจากเหตุการณ์และข้อเรื่องจากหลายๆแห่ง ที่สำคัญการกล่าวถึงการผูกมิตรพิชิตใจนี่คุยเป็นมาก เช่นทำนองว่า หาทางผูกมิตรสร้างเครือข่าย เพื่อให้เกิดความเกรงใจจากฝ่ายโน้น ฝ่ายนี้ ฝ่ายนั้น คนนี้ คนนั้น คือคำนี้!ได้ความคมคาย ได้ใจอยู่ ได้ใจอยู่บ้าง แต่ทีเดียวกันนั้น ก็ระคายใจอยู่บ้าง คิดว่าความข้อนี้ สู้คำว่า ‘ ไม่มีมิตรแท้ และศัตรูที่ถาวร ’ (ดูข้อนี้จะความหมายเป็นธรรม แต่เพื่อนๆจะคิดอย่างเดียวกันนี้หรือไม่ตอนนี้ยังไม่ทราบ) ไม่ได้
ไอ้เรื่องสู้ และฟันฝ่าอุปสรรคก็ดีด้วยพิชิตศัตรูนั่น! แต่ก็เป็นเชิงเปรียบเทียบ เพราะให้ลองได้อ่านนิทานชาดกแล้วจะพบความหมายที่เป็นอย่างประการหลังนี้ซะมากกว่า ที่กล่าวว่า ไม่มีมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร! แต่คำนี้ เป็นคำทางร้ายในทางปัจจุบันนี้ เพราะไปเกิดเหตุการณ์สำหรับใช่เล่ห์กลหักหลังกันทางการค้าหากำไร แล้วพูดคำนี้ขึ้นมา สนับสนุนต่อเหตุการณ์ที่เปลี่ยนไปแล้ว
เมื่ออ่านนิทานชาดก แล้วพบที่มีความสะท้อนเหตุเล่ามาเป็นนานเหมือนกัน แต่ในเรื่องนั้นสัตว์ที่จะทำตามคำสอนนั้น ทำไม่ได้! มันยอมเจ็บปวดและเสียหายร้ายแรงมากกว่าที่จะยอมทำตามคำสอน ในเรื่องนี้ พระพุทธเจ้าไม่ได้กล่าวถึงเรื่องการผูกมิตร (สมัยปัจจุบันนี้นิยมยุยงให้เกิดการหาทางผูกมิตรสร้างเครือข่าย) แต่ที่พระพุทธะเปรียบเทียบสอนนั้น สอนว่า ‘ ธรรมดาชาติบัณฑิตก็จะกลับคืนดีกันด้วยเหตุเพราะว่าเป็นบัณฑิต แต่ว่าวิวาทบาดหมางนั้นจะกลับดีไม่ได้เลยเพราะเป็นพาล ’ เป็นประมาณนี้ แล้วเรื่องจึงเล่าด้วยทางจะเล่าความหมาย มาถึงเพื่อนๆด้วย แต่ข้อชัดเจนที่อยู่ในพระไตรปิฎกนั้น ต้องค้นหาดูอีกครั้ง ดูว่าอยู่ตรงไหน. ข้อนี้พูดมานี้เพราะว่าพบเห็นคนที่พยายามอยู่ดั่งเดิมนั่นเอง คือแก้ปัญหาบาดหมางขัดแย้ง ด้วยการหาทางผูกมิตรสร้างเครือข่ายอยู่อย่างนั้นเอง และเพราะดูแล้วว่าปัญหาจะไม่จบ ก็อย่างที่อ้างและเป็นไปให้ปลุกเร้ากันไปดั่งความในหัวข้อนั้น
เพราะว่าการกล่าวถึงศัตรูดังข้อคำถามนั้น เป็นทีเสนอให้เข้าใจ ว่า ใครๆต่อใคร ก็ไม่ควรเลยที่เราจะมีศัตรูแม้สักคนเดียว ข้อหัวเรื่องชนิดนี้ไม่ได้แนะนำว่าให้ต้องไปหาผูกมิตรสร้างเครือข่ายไว้มากๆ เรื่อยไป ก็เลยแล้วเรื่องกัน ว่า คนพากันเข้าใจไปทาง 500 นั่น! แล้วก็เลยพากันทำ (ฯ..)
○ ผูกมิตร สร้างเครือข่าย