▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼
แสดงความคิดเห็น
คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
ตอนที่-9:....พุทธวจน.....พุทธวจน ผู้สิ้นสังโยชน์ในภพมนุษย์
https://www.youtube.com/watch?v=dCmm3H44F9A
End😁😁😁
สมาชิกหมายเลข 5448563

พระคติธรรม สมเด็จพระสังฆราช
“พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแม้มีข้อแตกต่างกันบ้าง กล่าวคือวิทยาศาสตร์ไม่มีเงื่อนไขเรื่องความดีความชั่ว เป็นศาสตร์ที่วางตัวเป็นกลางเรื่องถูกผิด จึงอาจให้
สมาชิกหมายเลข 5651019
พุทธศาสนา การพิสูจน์รักแท้ เขาทำกันอย่างไร ?
ปีนหน้าผาพิสูจน์รักแท้ จดทะเบียนสมรสที่ กุ้ยหลินเมืองไทย พิษณุโลก (matichon.co.th)
https://www.matichon.co.th/news-monitor/news_3183071
สมาชิกหมายเลข 6865705
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
ศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธคล้ายวิทยาศาสตร์ ดังนั้นเรื่องที่ยังพิสูจน์ไม่ได้ของศาสนาจะถูกเรียกว่า "สมมุติฐาน" รึเปล่าคะ
มีหลายเรื่องของศาสนาพุทธที่ยังไม่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยเทคโนโลยีในปัจจุบันนั้นจะถูกเรียกว่าเป็น "สมมุติฐาน" ในขั้นตอนของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์รึเปล่าคะ เช่นการเวียนว่ายตายเกิด มีภพมีชาติ หรือเรื่องเหนือธรรมชาติอื่นๆเช่น อิทธิฤทธิ์ หรือ ปาติหาน ต่างๆ
กระบวนการที่ว่าคือ
ขั้นที่ 1. การสังเกต กำหนดปัญหา
ขั้นที่ 2. การตั้งสมมติฐาน
ขั้นที่ 3. การทดลองและค้นหาความจริงเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน
ขั้นที่ 4. วิเคราะห์และสรุปผล
และมีเรื่องที่สงสัยว่ามันขัดแย้งกันอยู่ในคำสอนเองคือเรื่อง กาลามสูตร พุทธประสงค์ที่แท้จริงในการตรัสเรื่องนี้ก็คือ ไม่ทรงให้ปลงใจเชื่อถือเพียงเพราะอ้างตำรารวมไปถึงตำราที่เรียกกันว่าพระไตรปิฎกด้วย แต่ก็มิใช่หมายความว่าไม่ให้เชื่ออะไรเลย ทรงประสงค์ว่า การตัดสินใจเชื่อในแต่ละเรื่องมิใช่ตัดสินใจเชื่อเพียงเพราะเหตุผลใดเหตุผลหนึ่ง ใน ๑๐ ประการนี้ แต่ควรจะมีข้อมูลในการตัดสินใจเชื่อที่มากไปกว่านั้น
แล้วทำไมถึงกลับมีการกล่าวว่าการไม่เชื่อเรื่องพวกภพ หรือการเวียนว่าตายเกิด เป็น...ทิฐิอะไรซักอย่างซะงั้น (ไม่รู้เรียกว่าอะไร) ทั้งๆที่เราเองยังไม่มีข้อมูลเพียงพอที่จะให้เชื่อตามหลัก กาลามสูตร 10 ด้วยซ้ำไป
ขอบคุณค่ะ