คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 8
<> ขายพร้อมติดตั้ง ( เช่น ขายเครื่องปรับอากาศ พร้อมติดตั้ง ) ..... จุดประสงค์ผู้ซื้อต้องการ "เครื่องปรับอากาศ"
การขายพร้อมติดตั้ง.... ถ้าไม่แยกรายการ ... ถือเป็นการขายสินค้า ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย
<> รับเหมาทำหน้าต่าง ( มีวัสดุ และ ค่าแรง ) ...... จุดประสงค์ผู้ซื้อต้องการ "หน้าต่าง" ไม่ใช่วัสดุ ...
( หรือที่เรียกว่าหวังผลสำเร็จของงาน)
ดังนั้น ไม่ว่าจะแยกรายการหรือไม่ ....ถือเป็นการรับจ้างทำของ (หวังผลสำเร็จของงาน) ... ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ทั้งค่าวัสดุและค่าแรง
<> วิธีคำนวณ : ตามตัวอย่าง > วัสดุ 90 บาท ค่าแรง 10 บาท
- วัสดุ ( 90 + 7%) - ( 90 x 3%) = 96.3 - 2.7 = 93.6
- ค่าแรง ( 10 + 7%) - ( 10 x 3%) = 10.7 - 0.3 = 10.4
หรือคิดรวม (100 + 7%) - (100 x 3%) = 107.0- 3.0 = 104.0
การขายพร้อมติดตั้ง.... ถ้าไม่แยกรายการ ... ถือเป็นการขายสินค้า ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย
<> รับเหมาทำหน้าต่าง ( มีวัสดุ และ ค่าแรง ) ...... จุดประสงค์ผู้ซื้อต้องการ "หน้าต่าง" ไม่ใช่วัสดุ ...
( หรือที่เรียกว่าหวังผลสำเร็จของงาน)
ดังนั้น ไม่ว่าจะแยกรายการหรือไม่ ....ถือเป็นการรับจ้างทำของ (หวังผลสำเร็จของงาน) ... ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ทั้งค่าวัสดุและค่าแรง
<> วิธีคำนวณ : ตามตัวอย่าง > วัสดุ 90 บาท ค่าแรง 10 บาท
- วัสดุ ( 90 + 7%) - ( 90 x 3%) = 96.3 - 2.7 = 93.6
- ค่าแรง ( 10 + 7%) - ( 10 x 3%) = 10.7 - 0.3 = 10.4
หรือคิดรวม (100 + 7%) - (100 x 3%) = 107.0- 3.0 = 104.0
แสดงความคิดเห็น
ถามเรื่องภาษี การออกvat กับ หักณ.ที่จ่าย
ทางลูกค้าบอกว่า ให้แยก ค่าของ กับค่าแรงออกจากกัน
เช่น งานเหมารวมมูลค่า 100 บาท แบ่งเป็น ค่าของ 90บาท ค่าติดตั้ง 10บาท
- ค่าของ ให้เราบวกvat7% = 90+7% = 96.3 บาท
- ค่าแรง เขาจะหักภาษีณ.ที่จ่าย 3% = 10 - 3% = 9.7 บาท
วิธีคิดแบบนี้ถูกหรือไม่ ?? อย่างไร ??
ขอความกรุณาด้วยครับ
ขอบคุณครับ